ขอบคุณครับ (auto feedback)
ขอบคุณครับ (auto feedback)
ได้รับแล้วครับ
ได้รับพระแล้วครับ ขอบคุณครับ
เหรียญพระประธาน วัดโพธิสัมพันธ์ เนื้อทองแดงกระไหล่ทอง จ.ชลบุรี เหรียญนี้หลวงพ่อบุญมี เจ้าอาวาสในขณะนั้นได้จัดสร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2518 โดยได้นิมนต์พระเกจิอาจารย์ดังเข้าร่วมปลุกเสกมากมาย เช่น หลวงพ่อเริ่ม วัดจุกกะเฌอ, หลวงพ่อชื้น วัดมาบข่า, ร่วมถึงหลวงปู่ทิม แห่งวัดละหารไร่ จ.ระยอง เข้าร่วมปลุกเสกด้วย เหรียญนี้สภาพพอสวยและรับประกันตามกฎของเวปทุกประการ
รับพระเรียบร้อยครับ จัดส่งไวยอดเยี่ยมครับ การันตีให้ครับ
เคาะเดียวครับ ผู้ ชนะประมูลมียอดต่ำกว่า 100 .-(สามารถรวมยอดหลายรายการได้ให้ถึง 100.-)เพิ่มค่าจัดส่งอีก 15.-ครับ(ส่งแบบลงทะเบียนเท่านั้น)หรือต้องการส่งแบบEMS(กรณียอดไม่ถึง 100.-และถึง 100.-แต่ไม่ถึง 400.-)เพิ่มค่าจัดส่ง 35.-ครับ,หากไม่เพิ่มค่าส่งมาด้วยคืนเงินให้โดยหักค่าธรรมเนียมการโอน ครับ(ตามค่าธรรมเนียมที่ธนาคารระบุ) หากยอด 100.- ขึ้นไปส่งลงทะเบียนฟรีครับ หากยอด 400.-ขึ้นไปส่งแบบ EMS ให้ครับ
องค์นี้มีโค๊ต ซึ่งพิธีการสร้างหลังจากสร้างพระเสร็จได้มีการตอกโค๊ต แต่ตอกได้ไม่มากปรากฏว่าโค๊ตชำรุดพระที่ออกสู่วงการส่วนมากจึงไม่มีโค๊ตที่มีโค๊ตจึงราคาแพง องค์นี้ตอกสองโค๊ด ดูง่ายแบบธรรมชาติเก็บไว้ให้ส่องมันส์ๆ แท้ตั้งแต่ไกล พร้อมใบเซอร์รับรอง ในพิธีสร้างในปี2485 ผ่านมา70กว่าปีแล้วจะเก็บไว้ใช้ก็ดีคอลเลคชั่นนี้หายาก หรือ ไว้ออกตัว ซื้อขายที่ไหนก็การันตีความแท้ในตัว พระดี พิธีเยี่ยม ประสบการณ์สูงมาก เป็นของหลักของวงการพระ หาเก็บไว้เถอะครับไม่มีติดลบแน่ เปิดวัดใจ10บาท ให้ราคากันตามสภาพเลยครับใช้มาบ้างแต่สวยแท้แน่นอน รับประกันความแท้ตลอดชีพ พิจารณาก่อนเคาะนะครับ ดูความพร้อมกรุณาอย่าเคาะเล่นนะครับ พระพุทธชินราช รุ่นอินโดจีนนี้เริ่มมีการดำริที่จะจัดสร้างโดย พลเรือตรี หลวงธำรงค์นาวาสวัสดิ์ ซึ่งเป็นนายกพุทธสมาคมแห่งประเทศไทย เนื่องจากตอนนั้นมีกรณีพิพาทกับฝรั่งเศส เรื่องสิทธิเหนือดินแดนของอินโดจีน ในราว ปี พ.ศ.2483-2484 วัตถุประสงค์เพื่อแจกจ่ายให้แก่ทหารที่ไปราชการสงคราม และให้ประชาชนโดยทั่วไปได้มีโอกาสเช่าบูชา ต่อมาในปีพ.ศ.2485 สงคราม โลกครั้งที่ 2 ก็กำลังก่อตัวขึ้นในภูมิภาคนี้ จึงได้มการจัดสร้างพระ พุทธชินราชรุ่นอินโดจีนขึ้น ในตอนแรกมีกำหนดการให้ทำพิธีเททองหล่อพระพุทธชินราช ที่วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ พิษณุโลก แต่มีเหตุต้องเปลี่ยนสถานที่การเททองให้มาทำพิธีที่วัดสุทัศน์ แทน เนื่องจากในขณะนั้นกำลังอยู่ในช่วงสงครามโลก ไม่สะดวกในการเดินทางและทำพิธี จึงจำเป็นต้องเปลี่ยน สถานที่มายังวัดสุทัศน์ แทน กำหนดการทำพิธีตรงกับวันเสาร์ขึ้น 5 ค่ำ คือวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2485 โดยมีสมเด็จพระสังฆราชแพ เป็นองค์ประธาน และท่านเจ้าคุณสนธิ์ เป็นผู้ดำเนินงาน ทำพิธี ณ มณฑลพิธีหน้าพระอุโบสถ วัดสุทัศน์ เพื่อเอาฤกษ์เอาชัย และได้มอบหมายให้ช่างอีกศรีหลายโรงงานรับช่วงไปดำเนินงานต่อจนเสร็จ ชนวนมวลสารที่ใช้หล่อนั้นประกอบด้วยชนวนโลหะของวัดสุทัศน์ แผ่นจารจากพระคณาจารย์ทั่วประเทศ รวมทั้งโลหะทองเหลืองที่ประชาชนนำมาบริจาคให้ หลังจากนั้นเมื่อหล่อพระเสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงนำพระทั้งหมดมามอบให้กับทางพุทธสมาคมฯ เพื่อตอกโค้ด เป็นรูปธรรมจักร และรูปอกเลา ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ พิษณุโลก พระส่วนใหญ่ได้ทำการตอกโค้ดจนครบ แต่ได้มีพระอีกเพียงบางส่วนที่ยังไม่ได้ตอกโค้ด เนื่องจากโค้ดชำรุดเสียก่อน พระอาจารย์ที่ร่วมปลุกเสก รูปจำลอง พระพุทธชินราช พ.ศ. 2485 1. สมเด็จพระสังฆราช( แพ ) วัดสุทัศน์เทพวราราม ประธาน 2. พระศรีสัจจญาณมุนี (สนธ์) วัดสุทัศน์เทพวราราม แม่งาน 3. พระครูใบฎีกา (ประหยัด) วัดสุทัศน์เทพวราราม 4. พระครูอาคมสุนทร (มา) วัดราชบูรณะ 5. พระครูพิพัฒนบรรณกิจ (วิเชียร) วัดราชบูรณะ 6. พระครูสรกิจพิศาล (ศุข) วัดราชบูรณะ 7. พระครูสุนทรศิลาจารย์ (เจิม) วัดราบุรณะ 8. พระครูพิบูลย์บรรณวัตร (สนิท) วัดราบุรณะ 9. พระครูสมถกิติคุณ (ชุ่ม) วัดราบุรณะ 10. พระธรรมเจดีย์ สมเด็จพระสังฆราช (อยู่) วัดสระเกส 11.พระสุธรรมธีรุคณ (วงษ)์ วัดสระเกศ 12. พระวิเชียรโมลี (ปลั่ง) วัดคูยาง กำแพงเพชร 13. พระพิมลธรรม (นาค) วัดอรุณฯ 14. พระครูอรุณธรรมธาดา (บัว) วัดอรุณฯ 15. พระครูสังฆพินิจ (เฟื่อง) วัดสัมพันธวงศ์ 16. พระมหาโพธิวงศาจารย์ (นวม) วัดอนงคาราม 17. พระปลัดเสง วัดกัลยาฯ 18. พระสังฆวรา (สอน) วัดพลับ 19. พระสมุทห์เชื้อ วัดพลับ 20. พระครูถาวรสมณวงศ์ (อ๋อย) วัดไทร บางขุนเทียน 21. พระพิษณุบุราจารย์ (แพ) วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ พิษณุโลก 22. พระครูวิสุทธิศีลาจาร (พริ้ง) วัดบางประกอก ธนบุรี 23. หลวงพ่อหลิม วัดทุ้งบางมด 24. พระอุบาลีคุณูปรมาจารย์ (เผื่อน) วัดพระเชตุพนฯ 25. พระวิสุทธิ์สมโพธิ์ (เจีย) วัดพระเชตุพนฯ 26. พระมงคลทิพมุนี (เซ็ก) วัดทองธรรมชาติ 27. พระธรรมรังษี (ปาน) วัดเทพธิดาราม 28. พระญาณปริยัติ (พริ้ง) วัดราชนัดดา 29. พระสังกิจคุณ (ขำ) วัดศรีทศเทพ 30. พระปัญญาพิศาลการ (หน)ู วัดปทุมวนาราม 31. พระปริญัติบัณฑิต (ทองคำ) วัดปทุมคงคาฯ 32. สมเด็จพระมหาศรีวรวงศ์ (อ้วน) วัดบรมนิวาศ 33. สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (เจริญ) วัดเทพศิรินทร์ 34. พระธรรมดิลก (โสม) วัดราชบูรณะ 35. พระครูวรเทย์มุนี (อี๋) วัดสัตตหีบ ชลบุรี 36. พระครูศรีพนัศนิคม (ศรี) วัดพลับ ชลบุรี 37. พระครูวิบูลย์คณารักษ์( ดิ่ง) วัดบางวัว แปดริ้ว 38. พนะครูสิทธิสารคุณ (จาด) วัดบางกะเบา ปราจีนบุรี 39. พระครูกรุณาวิหารี (เผือก) วัดกิ่งแก้ว บางพลี 40. พระครูพัก วัดบึงทองหลาง บางกะปิ 41. พระครูทองศุข วัดโตนดหลวง เพชรบุรี 42. หลวงพ่ออิ่ม วัดหัวเขา สุพรรณบุรี 43. พระวิสุทธิรังษี (เปลี่ยน) วัดใต้ กาญจนบุรี 44. พระครูอดุลย์สมณกิจ (ดี) วัดเหนือ กาญจนบุรี 45. พระครูนิวิธสมาจารย์ (เหรียญ) วัดหนองบัว กาญจนบุรี 46. พระครูยติวัตรวิบูลย์ (สอน) วัดลาดหญ้า กาญจนบุรี 47. หลวงพ่อเหมือน วัดโรงหีบ ดอนเมือง 48. พระครูธรรมสุนทร (จันทร์ )วัดบ้านยาง ราชบุรี 49. พระครูนนทวุฒาจารย์ (ช่วง) วัดบางแพรกใต้ นนทบุรี 50. พระครูนนทปรีชา (เผือก) วัดโมลีโลก นนทบุรี 51. พระครูโศภณศาสนกิจ (กลิ่น) วัดสะพานสูง นนทบุรี 52. หลวงพ่อแฉ่ง วัดบางพัง นนทบุรี 53. สมเด็จพระวริญาณวงศ์ สมเด็จพระสังฆราช (ชื่น ) วัดบวรนิเวศฯ 54. พระสุพจน์มุรี (ผิน) วัดบวรนิเวศฯ 55. พระครูไพโรจน์มันตาคม (รุ่ง) วัดท่ากระบือ สมุทรสาคร 56. พระครูมหาชัยบริรักษ์ (เชย) วัดเจษฎาราม สมุทรสาคร 57. พระครูสังวรศิลวัตร (อาจ) วัดดอนไก่ดี สมุทรสาคร 58. พระครูวัตตโกศล (เจียง) วัดเจริญสุขาราม สมุทรสงคราม 59. พระครูสุนทรโฆษิต (ทองอยู่ )วัดประชาโฆษิตาราม สมุทรสงคราม 60. หลวงพ่อบึง วัดสวนแก้ว สมุทรสงคราม 61. หลวงพ่อไวย วัดดาวดึงษ์ สมุทรสงคราม 62. หลวงพ่อแช่ม วัดตาก้อง นครปฐม 63. หลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก อยุธยา 64. หลวงพ่ออั้น วัดพระญาติ อยุธยา 65. หลวงพ่อนอ วัดกลางท่าเรือ อยุธยา 66. หลวงพ่อแจ่ม วัดวังแดงเหนือ อยุธยา 67. หลวงพ่อเล็ก วัดบางนมโค อยุธยา 68. หลวงพ่ออ่ำ วัดวงฆ้อง อยุธยา 69. หลวงพ่อกรอง วัดสว่างอารมย์ อยุธยา 70. หลวงพ่อจันทร์ วัดคลองระนง ชุมแสง 71. พระครูทิวากรรคุณ (กลีบ) วัดตลิ่งชัน ธนบุรี 72. พระราชโมลี (นาค) วัดระฆังฯ ธนบุรี 73. หลวงพ่อเกษีวิกรม (พูน) วัดสังฆราชาวาส สิงห์บุรี 74. หลวงพ่อจันทร์ วัดนางหนู ลพบุรี 75. พระครูมหาศิลสุนทร (ปลอด) วัดหลวงสุวรรณาราม ลพบุรี 76. พระครูศิลธรานุรักษ์ วัดท่าฬ่อ พิจิตร 77. หลวงพ่อพิธ วัดฆะมัง พิจิตร 78. หลวงพ่ออ่ำ วัดหนองกระบอก ระยอง 79. หลวงพ่อทอง วัดดอนสท้อน หลังสวน 80. พระมหาเมธังกร (หมา) วัดน้ำคือ แพร่ 81.พระสุเมธีวรคุณ (เปี่ยม) วัดเกาะหลัก ประจวบคีรีขันธ์ 82. พระธรรมทานาจารย์. (อิ่ม) วัดไชยพฤกษ์มาลา ธนบุรี ***** เกจิที่เข้าร่วมพิธีปลุกเสกทั้งหมด 108 รูป ที่ยังไม่ได้กล่าวถึงล้วนแล้วแต่สุดยอดเกจิดังยุคนั้นทั้งสิ้น ที่สุดพระดีเมืองไทยองค์หนึ่งที่ต้องมีไว้บูชาครับ*****
นิสัยดี ความรับผิดชอบสูง เยี่ยมครับ ส่งของให้แล้วนะครับ..No...ri069042708th
ขอบคุณครับ (auto feedback)