ขอบคุนครับ
25 ศตวรรษ พิมพ์นิยมมีเข็ม แต่ขอบด้านข้างล้มด้านล่างยุบไปนิด ใส่ตลับให้พร้อมใช้บวกของแถมอีก 3 องค์ ประกันพระแท้ชั่วกาลนาน ## พิจารณาให้ดีก่อนนะครับจะได้ไม่เสียเวลา ประกันพระแท้ๆชั่วกาลนานครับ##
หน้าตักพระ 1.5 นิ้ว สูง 3 นิ้ว เดิมๆครับ รับประกันทุกประการ วัดใจจริงๆ ไม่มีปั่น ไม่มีมั่วครับ ส่งพร้อมบัตรดีดี
พระ 25 พุทธศตวรรษ ปี 2500 เนื้อชินผสมนะวะโลหะ พิมพ์นี้ มีจุดใข่ปลาใต้ฐานกลีบบัว พิธีใหญ่ รับประกันตามกฎ พบค้างกรุพุทธมณฑลสามปีก่อนมีกล่องพระแท้ใส่ให้ ปี2500 องค์นี้สภาพสวยแบบผิวเดิมๆ พิมพ์คมติดหน้าตาชัดเจน ลักษณะพิมพ์ทรงถูกต้องตามหลักการครับ (พระราคาหลักร้อย พุทธคุณหลักล้านครับ) ภาพถ่ายจากองค์จริง ไม่มีการแต่งภาพใดๆ เลยครับ พระองค์นี้จัดว่าเป็นพระดูง่าย แท้ทุกสนามครับ และรับประกันพระมาตรฐานสากล ตามกฎของ G-PRA.COM ครับ ลองชม ลองพิจารณาดู ถ้าสนใจก็เชิญเคาะได้เลยนะครับ รับรองว่าไม่ผิดหวังจริง ๆ ครับพระตอนที่คันพบจากลังไม้เก่าที่พุทธมณฑลเมื่อแกะลังออกมาพบว่าพระตกกรุอยู่กับจอมปลวกคลุกเศษพระเนื้อดินโบราณมากจีงติดคราบดินเก่าไว้ออกเดิมๆไม่ล้างผิวใดๆทั้งสิ้นจะได้ขลังๆดีครับ พร้อมกล่องเดิมรุ่นเก่าจากหลวงพ่อเณรวัดศรีสุดาราม หลวงพ่อเณรเล่าว่าพระชุดนี้เอาออกมาจากกรุพุทธมณฑลไม่นานมานี้จีงเป็นพระที่ปลุกเสกตลอดเวลา50ปีเรียกได้ว่าเกจิแทบทุกองค์ทั้งประเทศไทยที่มาทำพิธีที่พุทธมณฑลต้องปลุกเสกชุดนี้และทำพิธีทางศาสนาวันสำคัญๆทั้งสิ้นเรียกได้ว่าพุทธคุณเกินคำบรรยาย พระเก่าเก็บจากลังไม้ไม่โดนอากาศเลยพลังจิตอัดเต็มๆสรรพคุณเกินคำบรรยายไม่เชื่อลองจับพระดูได้ครับ เมื่อแกะลังไม้ออกปรากฎว่าพบพระตกกรุคราบจอมปลวกคลุกผงพระเนื้อดินอยู่เป็นจำนวนมากสภาพออกเดิมๆให้ครับและ เป็นพระที่นำออกมาหารายได้สมทบทุนสร้างอาคารพิพิธภัณฑ์พุทธมณฑลเมื่อสามปีก่อนสภาพเดิมไม่ล้างใดๆทั้งสิ้นราคาใกล้เคียงกันแต่รับประกันแท้ๆฟันธงพร้อมกล่องแท้ การสร้างพระเครื่องนี้ ได้ลงมือทำพิธีปลุกเสกสรรพสิ่งตลอด 3 วัน 3 คืน ในพระอุโบสถวัดสุทัศน์เทพวราราม ราชวรมหาวิหาร มีสมเด็จพระราชาคณะ , เจริญพระพุทธมนต์ 25 รูป พระคณาจารย์ปลุกเสก บรรจุพุทธาคมครบ 108 รูป พระคณาจารย์ 108 รูปนี้ได้อาราธนามาจากจังหวัดต่างๆ ทั่วราชอาณาจักร ดังมีรายชื่อพระคณาจารย์ ดังต่อไปนี้ 1. พระครูอาคมสุนทร อ.พระนคร วัดสุทัศน์เทพวรารามฯ จ.พระนคร 2. พระครูสุนทรสมาธิวัตร อ.พระนคร วัดสุทัศน์เทพวรารามฯ จ.พระนคร 3. พระญาณาภิรัต อ.พระนคร วัดสุทัศน์เทพวรารามฯ จ.พระนคร 4. พระครูพิบูลย์บรรณวัตร อ.พระนคร วัดสุทัศน์เทพวรารามฯ จ.พระนคร 5. พระครูสุนทรศีลาจารย์ อ.พระนคร วัดสุทัศน์เทพวรารามฯ จ.พระนคร 6. พระครูพิศาลสรกิจ อ.พระนคร วัดสุทัศน์เทพวรารามฯ จ.พระนคร 7. พระมหาสวน อ.พระนคร วัดสุทัศน์เทพวรารามฯ จ.พระนคร 8. พระอำนวย อ.พระนคร วัดสุทัศน์เทพวรารามฯ จ.พระนคร 9. พระปลัดสุพจน์ อ.พระนคร วัดสุทัศน์เทพวรารามฯ จ.พระนคร 10. พระครูวิสิษฐ์วิหารการ อ.พระนคร วัดชนะสงคราม จ.พระนคร 11. พระสุธรรมธีรคุณ (หลวงพ่อวงษ์) วัดสระเกศ จ.พระนคร 12. พระอาจารย์สา อ.พระนคร วัดชนัดดาราม จ.พระนคร 13. พระปลัดแพง อ.พระนคร วัดมหาธาตุฯ จ.พระนคร 14. พระวิสุทธิสมโพธิ อ.พระนคร วัดพระเชตุพนฯ จ.พระนคร 15. พระวรเวทย์คุณาจารย์ อ.พระนคร วัดพระเชตุพนฯ จ.พระนคร 16. พระครูฐาปนกิจประสาท อ.พระนคร วัดพระเชตุพนฯ จ.พระนคร 17. พระอินทรสมาจารย์ อ.พระนคร วัดพระเชตุพนฯ จ.พระนคร 18. พระครูวินัยธรเฟื่อง อ.พระนคร วัดสัมพันธ์วงศ์ จ.พระนคร 19. พระครูภักดิ์ อ.พระโขนง วัดบึงทองหลาง จ.พระนคร 20. พระครูกัลญาณวิสุทธิ อ.ยานนาวา วัดดอนทวาย จ.พระนคร 21. พระอาจารย์มี อ.ยานนาวา วัดสวนพลู จ.พระนคร 22. พระอาจารย์เหมือน อ.บางเขม วัดโรงหีบ จ.พระนคร 23. พระหลวงวิจิตร อ.ดุสิต วัดสะพานสูง จ.พระนคร 24. พระอาจารย์หุ่น อ.มีนบุรี วัดบางขวด จ.พระนคร 25. พระราชโมลี อ.บางกอกน้อย วัดระฆัง จ.ธนบุรี 26. หลวงวิชิตชโสธร วัดสันติธรรมาราม จ.ธนบุรี 27. พรครูโสภณกัลญานุวัตร วัดกัลญาณมิตร จ.ธนบุรี 28. พระครูภาวนาภิรัต อ.บางขุนเทียน วัดหนัง จ. ธนบุรี 29. พระครูทิวากรคุณ อ.ตลิ่งชัน วัดตลิ่งชัน จ.ธนบุรี 30. พระครูไพโรจน์วุฒิคุณ วัดโพธินิมิตร จ.ธนบุรี 31. พระครูญาณสิทธิ์ อ.ตลิ่งชัน วัดราชสิทธาราม จ.ธนบุรี 32. พระอาจารย์มา อ.ตลิ่งชัน วัดราชสิทธาราม จ.ธนบุรี 33. พระอาจารย์หวน อ.ตลิ่งชัน วัดพิกุล จ.ธนบุรี 34. พระมหาธีวัฒน์ อ.ภาษีเจริญ วัดปากน้ำ จ.ธนบุรี 35. พระอาจารย์จ้าย อ.ภาษีเจริญ วัดปากน้ำ จ.ธนบุรี 36. พระอาจารย์อินทร์ อ.ภาษีเจริญ วัดปากน้ำ จ.ธนบุรี 37. พระครูกิจจาภิรมย์ อ.บางกอกใหญ่ วัดอรุณราชวราราม จ.ธนบุรี 38. พระครูวินัยสังวร อ.ธนบุรี วัดประยูรวงศวาส จ.ธนบุรี 39. พระสุขุมธรรมาจารย์ อ.ธนบุรี วัดหงษ์รัตนราม จ.ธนบุรี 40. พระครูพรหมวินิต อ.ธนบุรี วัดหงษ์รัตนาราม จ.ธนบุรี 41. พระอาจารย์อิน อ.คลองสาน วัดสุวรรณอุบาสิการ จ.ธนบุรี 42. พระครูวิริยกิจ อ.คลองสาน วัดประดู่ฉิมพลี จ.ธนบุรี 43. พระปรีชานนทมุนี อ.บางบัวทอง วัดโมลี จ.นนทบุรี 44. พระครูปลัดแฉ่ง (หลวงพ่อแฉ่ง) อ.ปากเกร็ด วัดศรีรัตนาราม จ.นนทบุรี 45. พระปลัดยัง (หลวงพ่อยัง) อ.ปากเกร็ด วัดบางจาก จ.นนทบุรี 46. พระอาจารย์สมจิต วัดป่ากระเหรี่ยง จ.ราชบุรี 47. พระอาจารย์แทน อ.เมือง วัดธรรมเสน จ.ราชบุรี 48. พระครูบิน อ.บางแพ วัดแก้ว จ.ราชบุรี 49. พระอินทร์เขมาจารย์ อ.เมือง วัดช่องลม จ.ราชบุรี 50. พระธรรมวาทีคณาจารย์ อ.เมือง วัดดอนยายหอม จ.นครปฐม 51. พระครูสังฆวิชัย วัดพระปฐมเจดีย์ จ.นครปฐม 52. พระอาจารย์สำเนียง อ.บางเลน วัดเวทุนาราม จ.นครปฐม 53. พระอาจารย์เต๋ อ.กำแพงแสน วัดสามง่าม จ.นครปฐม 54. พระอาจารย์แปลก อ.เมือง วัดสระบัว จ.ปทุมธานี 55. พระครูปลัดทุ่ง อ.เมือง วัดเทียมถวาย จ.ปทุมธานี 56. พระครูบวรธรรมกิจ อ.เมือง วัดโบสถ จ.ปทุธานี 57. พระครูโสภณสมาจารย์ อ.เมือง วัดหนองบัว จ.กาญจนบุรี 58. พระครูวิสุทธิรังษี อ.เมือง วัดเหนือ จ.กาญจนบุรี 59. พระมุจจรินโมฬี อ.หนองจิก วัดมุจจริน จ.ปัตตานี 60. พระครูรอด อ.เมือง วัดประดู่ จ.นครศรีธรรมราช 61. พระครูวิศิษฐ์อรรถการ อ.ฉวาง วัดสวนขวัญ จ.นครศรีธรรมราช 62. พระครูสิทธิธรรมาจารย์ (พระอาจารย์ลี) อ.เมือง วัดโศกการาม จ.สมุทรปราการ 63. พระอาจารย์บุตร อ.เมือง วัดใหม่บางปลากด จ.สมุทรปราการ 64. พระอาจารย์แสวง อ.พระประแกง วัดกลางสวน จ.สมุทรปราการ 65. พระครูศิริสรคุณ อ.เมือง วัดท้ายหาด จ.สมุทรสงคราม 66. พระครูสมุทรสุนทร อ.เมือง วัดพวงมาลัย จ.สมุทรสงคราม 67. พระสทุธิสารวุฒาจารย์ อ.อัมพวา วัดเสด็จ จ.สมุทรสงคราม 68. พระอาจารย์อ๊วง อ.อันพวา วัดบางคณาทอง จ.สมุทรสงคราม 69. พระครูไพโรจน์วุฒาจารย์ (รุ่ง) อ.กระทุ่มแบน วัดท่ากระบือ จ.สมุทรสาคร 70. พระครูวิเศษสมุทรคุณ อ.กระทุ่มแบน วัดดอนไก่ดี จ.สมุทรสาคร 71. พระครูสักขิตวันมุนี อ.เมือง วัดป่าเลไลย์ จ.สุพรรณบุรี 72. พระอาจาย์แต้ม อ.เมือง วัดพระลอย จ.สุพรรณบุรี 73. พระครูโฆษิตธรรมสาร (ครื้น) อ.เมือง วัดสังโฆ จ.สุพรรณบุรี 74. พระครูวรกิจวินิจฉัย (พริ้ง) อ.เมือง วัดวรจันทร์ จ.สุพรรณบุรี 75. พระครูสำฤทธิ์ (เอี้ยง) อ.เมือง วัดอู่ทอง จ.สุพรรณบุรี 76. พระวรพจน์ปัญญาจารย์ องเมือง วัดอรัญญิการาม จ.ชลบุรี 77. พระครูธรรมาวุฒิคุณ อ.เมือง วัดเสม็ด จ.ชลบุรี 78. พระครูธรรมธร (หลาย) อ.เมือง วัดราศฎร์บำรุง จ.ชลบุรี 79. พระอาจารย์บุญมี อ.บางละมุง วัดโพธิ์สัมพันธ์ จ.ชลบุรี 80. พระพรหมนคราจารย์ อ.พรหมบุรี วัดแจ้งพรหมนคร จ.สิงห์บุรี 81. พระครูศรีพรหมโศกิต (แพ) อ.พรหมบุรี วัดพิกุลทอง จ.สิงห์บุรี 82. พระชัยนาทมุนี อ.เมือง วัดบรมธาตุ จ.ชัยนาท 83. พระอาจารย์หอม (หลวงพ่อหอม) อ.เมือง วัดชากหมาก จ.ระยอง 84. พระอาจารย์เมือง อ.แม่ทา วัดท่าแพ จ.ลำปาง 85. พระครูอุทัยธรรมธานี อ.เมือง วัดท้าวอุ่ทอง จ.ปราจีนบุรี 86. พระครูวิมลศีลจารย์ อ.ประจันตคาม วัดศรีประจันตคาม จ.ปราจีนบุรี 87. พระครูสนุทรธรรมประกาศ อ.ปากพลี วัดโพธิ์ปากพลี จ.นครนายก 88. พระครูบาวัง อ.เมือง วัดบ้านเด่น จ.ตาก 89. พระครูสวรรควิริยกิจ อ.เมือง วัดสวรรคนิเวส จ.แพร่ 90. พระครูจันทร (อ.ชุมแสง จ.นครสวรรหลวงพ่อจันทร์) วัดคลองระนง ค์ 91. พระครูสีลกิติคุณ (อั้น) วัดพระญาติฯ อ.พระนครศรีฯ จ.อยุธยา 92. พระอาจารย์แจ่ม วัดวังแดงเหนือ อ.พระนครศรีฯ จ.อยุธยา 93. พระครูเล็ก วัดบางนมโค อ.เสนา จ.อยุธยา 94. พระอาจารย์มี วัดอินทราราม อ.เสนา จ.อยุธยา 95. พระอาจารย์หวาน วัดดอกไม้ อ.บางปะหัน จ.อยุธยา 96. พระอาจารย์หน่าย วัดบ้านแจ้ง อ.บางปะหัน จ.อยุธยา 97. พระครูประสาทวิทยาคม (นอ) วัดกลาง อ.ท่าเรือ จ.อยุธยา 98. พระอาจารย์จง (หลวงพ่อจง) วัดหน้าต่างนอก อ.บางไพร จ.อยุธยา 99. พระอธิการเจาะ วัดประตูโลกเชษฐ์ อ.เสนา จ.อยุธยา 100. พระอาจารย์ศรี วัดสระแก อ.พระนครศรีฯ จ.อยุธยา 101. พระสุวรรณมุนี (ชิต) วัดมหาธาตุ อ.เมือง จ.อยุธยา 102. พระครูศุข วัดดตนดหลวง อ.ชะอำ จ.เพชรบุรี 103. พระครูพิบูลย์ศีลาจารย์ วัดโพธิ์กรุ อ.บ้านลาด จ.เพชรบุรี 104. พระครูทบ (หลวงพ่อทบ) วัดส่วางอรุณ อ.ชนแดน จ.เพชรบูรณ์ 105. พระสวรรคนายก วัดสุวรรคคาราม อ.สวรรคโลก จ.สุโขทัย 106. พระโบราณวัตถาจารย์ วัดราชธานี จ.สุโขทัย 107. พระครูปี้ วัดกิ่งลานหอย กิ่ง อ.บ้านด่านลานหอย จ.สุโขทัย 108. พระครูวิบูลย์สมุทร วัดเสด็จ อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม พระสภาพสมบูรณ์ครับลายเส้นเป็นลายเนื้อพระลานจากอายุพระ50กว่าปี พระสภาพสมบูรณ์ครับลายเส้นเป็นลายเนื้อพระลานจากอายุพระ50กว่าปี cc4 2044 45 1 43 50 51 4 52 53 5 54 55 6พระตามรูปอายุ50กว่าปีพระทุกองค์แท้แน่นอนเพราะพบว่าชุดนี้มีไข่ปลาอยู่ใต้ฐานกลีบบัวตามลักษณะพิมพ์นิยมอยู่ด้วย รายละเอียดเพิ่มเติม: #1 เมื่อ : 28 กรกฎาคม 2013, 4:02:20 dd BB102 4494//96 4 97//99 5 4500//02 6 03//05 7 06//08 8 UU 5037//39 1 5064//66 10 61//63 9 58//60 8 ขข101 6903ฝฝ05 1 909 ฝฝ911 3 ฃฃ102 3438ฝฝ40 1 41
หลวงปู่ทวด ปี ๒๕๐๘ พิมพ์ลึก ( หน้าโบราณ ) หลังหนังสือ เข่าจุด ( นิยม ) จัดเป็นพิมพ์ที่เล่นง่ายที่สุด --- พิมพ์นี้มีอยู่ในหนังสือ หลวงพ่อทวดของ คุณ ชัยฤทธิ์ เพชรพันธุ์ทอง (อุปนายกคนที่ 4 ของสมาคมผู้นิยมพระเครื่องพระบูชาไทย) " ชุดคำภีร์ ล้ำค่าหลวงพ่อทวด ( ฉบับพิเศษ )" --- เป็นพิมพ์ ที่สมาคมผู้นิยมพระเครื่องพระบูชาไทย โดยท่านนายกสมาคมฯ พยัพ คำพันธุ์ ให้การยอมรับว่าแท้และ ทันอ.ทิมปลุกเสก และบรรจุอยู่ในรายการประกวดทุกงานที่สมาคมจัด พิมพ์นี้ทาง dd-pra.com ยังไม่รับออกบัตรนะครับ **เก็บก่อนจะแพงเท่าปี05** เคาะเป็นกำลังใจให้ marshal ด้วยนะครับ จะได้มีกำลังใจหาพระดีๆมาให้พี่ๆได้บูชา มีรายการวัดใจหลายรายการ กดดูได้ที่ -->
รับประกันตามกฎ
วัดใจ ! พระชัยวัฒน์ชินบัญชร " วัดหัวกระบือ " ปี 2521 อุดผง ( หายาก ) หลวงปู่โต๊ะปลุกเสก วัดหัวกระบือ ได้เกิดน้ำท่วม เสนาสนะ เลยเกิดชำรุดทรุดโทรม ท่านเจ้าอาวาส ได้นำความไปปรึกษากับหลงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี หลวงปู่ท่านเลยให้ยันต์แม่แบบผงพุทธคุณ ชานหมาก และเกศา แล้วให้ท่านเจ้าอาวาสวัดหัวกระบือ ไปจัดสร้างวัตถุมงคล ในปี 2521 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ทรงเสด็จพระราชดำเนินมาเป็นประธานในพิธี โดยมีหลวงปู่โต๊ะ นั่งปรกปลุกเสก พระกริ่ง,พระชัยวัฒน์,พระยอดธงจัดสร้างเป็นพิมพ์เดียวกันหมดต่างกันที่พระกริ่งจะอุดกริ่ง พระยอดธงจะไม่ตัดเดือยที่หล่อพระส่วนพระชัยวัฒน์ ด้านล่างจะอุดผงและบรรจุเส้นเกศาหลวงปู่โต๊ะ(หายากกว่าและแพงที่สุด) นอกจากนี้ยังมีอีกคณาจารย์ดังๆอีกหลายองค์ที่ไปปลุกเสกอาทิ เช่น ๑. หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี ๒. หลวงพ่อเส็ง วัดกัลยาณมิตร ๓. หลวงพ่อทองอยู่ วัดใหม่หนองพะอง ๔. หลวงพ่อแช่ม วัดดอนยายหอม ๕. หลวงพ่อสุด วัดกาหลง ๖. หลวงพ่อวงษ์ วัดปริวาศ ๗. หลวงพ่อตุ๋ย วัดอนงคาราม ๘. หลวงพ่อเหยี่ยว วัดศาลาครึน ๙. หลวงพ่อจอม วัดนิลสุขาราม ๑๐. หลวงพ่อสีหมอก วัดเขาวังตะโก ๑๑. หลวงปู่คำมี วัดถ้ำคูหาสวรรค์ ๑๒. พระอาจารย์พร วัดปากเพรียว ฯ ล ฯ รายการนี้พระจัดส่งตรงตามภาพครับ
ขอบคุณครับ รวดเร็วครับ
ขอบคุณครับ (auto feedback)
วง การพระเครื่องในทุกวันนี้ ต้องยอมรับว่า พระรูปหล่อลอยองค์ หลวงพ่อเงิน วัดบางคลาน จ.พิจิตร ที่สร้างในสมัยหลวงพ่อเงินยังมีชีวิตอยู่ มีสนนราคาเช่าหาที่แพงที่สุด ในบรรดาพระรูปหล่อของพระเกจิอาจารย์ชื่อดังในอดีตด้วยกัน รวมทั้งเหรียญหล่อโบราณ พิมพ์จอบเล็ก และพิมพ์จอบใหญ่ ซึ่งมีของหมุนเวียนเปลี่ยนมือกันไม่บ่อยนัก เพราะมีจำนวนสร้างไม่มาก แต่มีการเช่าหาที่แพงเป็นหลักแสนหลักล้านขึ้นไป ผู้ที่ศรัทธาเลื่อมใส พระหลวงพ่อเงิน ในระดับทั่วๆ ไป ที่มิใช่เศรษฐีผู้มีเงินเหลือกินเหลือใช้ จึงมองหา พระหลวงพ่อเงิน ที่สร้างในยุคหลังต่อมา หลังจากที่ท่านได้มรณภาพในปี 2462 ไปแล้ว ซึ่งมีการจัดสร้างหลวงพ่อเงินกันบ่อยๆ ไม่ว่าจะเป็นวัดที่ท่านเคยจำพรรษามาก่อน เช่นวัดบางคลาน วัดท้ายน้ำ วัดคงคาราม หรือวัดอื่นๆ ในจังหวัดพิจิตร หากจะสร้างวัตถุมงคลให้ชาวบ้านทำบุญบูชา ก็สร้าง พระหลวงพ่อเงิน เท่านั้น ถึงจะมีผู้สนใจเช่าหา อันจะส่งผลให้วัดที่สร้างได้ปัจจัยทำบุญตามความประสงค์ต่อไป อย่างไรก็ตาม แม้จะมีการสร้างพระหลวงพ่อเงิน ในสมัยต่อมามากมายหลายรุ่น แต่ที่ได้รับความศรัทธานิยมจากชาวบ้าน เพราะมีประสบการณ์มากมาย และโด่งดังสุดๆ ก็คือ พระหลวงพ่อเงิน ที่สร้างในปี 2515 หรือที่วงการพระเรียกกันสั้นๆ ว่า "พ่อเงินปี 15" การจัดสร้างพระหลวงพ่อเงินในครั้งนั้น ถือเป็นครั้งประวัติศาสตร์อันยิ่งใหญ่ ที่เกิดขึ้นไม่บ่อยครั้งนักในเมืองไทย ที่ต้องจารึกไว้ในความทรงจำจนทุกวันนี้ ทั้งนี้ เพราะการจัดสร้าง พระหลวงพ่อเงิน รุ่นปี 2515 นั้น มีจุดเด่นดีอยู่หลายประการ อาทิ เจตนาการสร้างดี เนื้อหามวลสารดี รูปแบบสวยงาม และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง พิธีการดี ถูกต้องตามตำรับตำราโบราณทุกอย่าง จนเป็นที่ศรัทธาเลื่อมใสของประชาชนโดยทั่วไป หลวง พ่อเงิน วัดบางคลาน พระเกจิที่ได้รับการยอมรับว่าเป็นเพชรน้ำเอกของจังหวัดพิจิตร เป็นอมตมหาเถระแห่งกรุงสยาม เป็นที่เคารพนับถือของพุทธศาสนิกชนมาตั้งแต่อดีตจวบจนปัจจุบัน วัตถุมงคลที่ท่านสร้างยังคงเป็นที่นิยมและแสวงหาอย่างสูงในหมู่พุทธบริษัท และแวดวงนักเล่นพระทั้งหลาย ทั้ง รูปหล่อลอยองค์ พิมพ์นิยม รูปหล่อลอยองค์ พิมพ์ขี้ตา เหรียญหล่อพิมพ์จอบใหญ่ และเหรียญหล่อพิมพ์จอบเล็ก ด้วยพุทธานุภาพที่ความเข้มขลังปรากฏแก่ผู้มีไว้ครอบครอง หลวงพ่อเงิน เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2351 ในสมัยรัชกาลที่ 1 ที่บ้านบางคลาน จ.พิจิตร เมื่อเยาว์วัยศึกษาเล่าเรียนที่วัดตองปุ (วัดชนะสงคราม) ที่กรุงเทพมหานคร พออายุครบบวชก็อุปสมบทเป็นพระภิกษุ ได้รับฉายา "พุทธโชติ" ศึกษาร่ำเรียนพระธรรมวินัยและวิปัสสนากรรมฐานที่วัดชนะสงคราม และถวายตัวเป็นศิษย์ท่านเจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) วัดระฆังโฆสิตาราม จากนั้นกลับไปจำพรรษาที่วัดคงคาราม บ้านบางคลาน ต่อมาออกธุดงค์มายังหมู่บ้านวังตะโก และได้หักกิ่งโพธิ์ 3 กิ่ง ปักลงตรงบริเวณป่าตะโก แล้วอธิษฐานจิตว่า "ถ้าข้าพเจ้าได้มาสร้างวัด ณ สถานที่แห่งนี้ ถ้ามีความเจริญรุ่งเรืองต่อไปในอนาคตข้างหน้า ขอให้กิ่งโพธิ์ทั้ง 3 กิ่ง จงเจริญงอกงามตามไปด้วย" ซึ่งก็เป็นไปตามคำอธิษฐาน ท่านได้สร้างกุฏิ วิหาร อุโบสถ และเสนาสนะต่างๆ ภาย ในวัดจนสมบูรณ์ครบถ้วน ให้ชื่อว่าวัดวังตะโกหรือวัดบางคลาน ต่อมาเปลี่ยนเป็น "วัดหิรัญญาราม" หลวงพ่อเงิน ได้อนุญาตให้จัดสร้างวัตถุมงคลดังกล่าวขึ้น เพื่อเป็นอนุสรณ์และเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจของบรรดาลูกศิษย์ลูกหาและผู้ เคารพศรัทธาเมื่อท่านล่วงลับไปแล้ว ให้แวะเวียนมากราบนมัสการและช่วยกันดูแลวัดบางคลานอย่างสม่ำเสมอจนมีความ รุ่งเรืองมาถึงทุกวันนี้ ท่านมรณภาพในปี พ.ศ. 2462 สิริอายุ 109 ปี พรรษา 90 จากนั้น จนมาถึงปัจจุบัน ก็ยังมีการจัดสร้างวัตถุมงคลหลวงพ่อเงินเรื่อยมา ซึ่งทุกรุ่นก็ล้วนทรงอานุภาพและเป็นที่นิยมสะสมทั้งสิ้นด้วยบารมีของหลวงพ่อ เงิน โดยเฉพาะรุ่นที่สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2515 ซึ่งประกอบพิธีเททองที่วัดสุทัศนเทพวรารามและพุทธาภิเษกที่วัดบางคลาน (วัดหิรัญญาราม) จ.พิจิตร วัด ทุ่งน้อย ต.ทุ่งน้อย อ.โพทะเล จ.พิจิตร เป็นวัดอีกวัดหนึ่งที่หลวงพ่อเงินได้เข้ามาช่วยอุปถัมภ์สร้างถาวรวัตถุใน อดีต และทางวัดได้ทำการหล่อหลอมรูปหล่อหลวงพ่อเงินกันแบบตามมีตามเกิดหลายอย่าง ขึ้นในวัดโดยให้หลวงพ่อเงินช่วยปรกปลุกเสกให้และนำออกจำหน่ายให้ชาวบ้านบูชา เพื่อนำเงินมาสร้างถาวรวัตถุในพุทธศาสนาของทางวัด พระอาจารย์จำนงค์ เจ้าอาวาสองค์ปัจจุบันของวัดทุ่งน้อย ซึ่งในขณะนี้ท่านอายุกว่า 60 ปีแล้ว ในปี พ.ศ. 2537-2538 ท่าน ได้สร้างรูปหล่อหลวงพ่อเงิน พิมพ์ขี้ตาขึ้นเป็นรุ่นแรกของท่าน โดยทำการถอดพิมพ์จากพระรูปหล่อหลวงพ่อ เงิน พิมพ์ขี้ตา รุ่นทีหลวงพ่อเงิน บางคลานสร้างเอาไว้ ซึ่งเป็นองค์ของท่านที่มีอยู่ เนื่องจากท่านเป็นพระนักพัฒนา ท่านต้องการสร้างแจกเพื่อหาปัจจัยนำมาสร้างศาลาการเปรียญหลังใหม่ของวัดทุ่ง น้อยทีใช้เงินก่อสร้างถึง 15 ล้านบาท รูปหล่อหลวงพ่อเงิน พิมพ์ขี้ตารุ่นแรกของพระอาจารย์จำนงค์หล่อจากเนื้อจับเก่า คือมีทั้งชนวนมวลสารเก่า ทองเหลืองหัวลูกปืน ถาดทองเหลืองทีฝังกรุไว้ ระฆังเก่า และวัสดุอีกหลายอย่างที่ท่านหามาได้มาหลอมรวมกัน ออกให้บูชาพร้อมกรอบสแตนเลสและสร้อยกะลาตาเดียว หลวง พ่อเงิน พิมพ์ขี้ตา อาจารย์จำนงค์ วัดทุ่งน้อย รุ่นแรกของท่านนั้น พระอาจารย์จำนงค์ท่านตั้งใจมากท่านปลุกเสกเดี่ยวหลายครั้งมาก เมื่อมีงานปลุกเสกวัตถุมงคลที่ใดๆหรืองานปิดทองฝังลูกนิมิตรวัดไหนๆใน จ.พิจิตรหรือจ.ใกล้เคียง ท่านจะนำพระหลวงพ่อเงิน พิมพ์ขี้ตา ของท่านไปร่วมปลุกเสกด้วยเสมอ นอกจากนี้ท่านได้นำไปให้หลวงพ่อพิมพา และหลวงพ่อสมควรปลุกเสกเดี่ยวให้อีกด้วย ดังนั้นหลวงพ่อเงิน พิมพ์ขี้ตา รุ่นแรกของท่านจึงมีประสบการณ์มากมาย