+++++ เริ่ม 40 บาท + บัตรดีดีพระ ++ พระร่วงยืน ปี 2513 เนื้อทองเเดง หลวงพ่อมุ่ย หลวงพ่อเงิน หลวงปู่โต๊ะ ปลุกเสก +++++
จัดสร้าง เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2513 ตรงกับวันกองทัพไทย หลวงพ่อถิรได้จัดพิธีมหาพุทธาภิเษก มีพระเกจิอาจารย์กว่า 108 รูป ร่วมพิธีพุทธาภิเษกโดยมี สมเด็จพระสังฆราช ทรงจุดเทียนชัย เวลา 11.00 น. สมเด็จพระวันรัต วัดพระเชตุพนฯ เป็นประธานในพิธีมหาพุทธาภิเษก พระเกจิคณาจารย์ จากทั่วประเทศกว่า 80 รูปร่วมพิธี อาทิ หลวงพ่อเปลื้อง วัดสุวรรณภูมิ จ.สุพรรณบุรี, หลวงพ่อเงิน วัดดอนยายหอม จ.นครปฐม, หลวงพ่อขอม วัดไผ่โรงวัว จ.สุพรรณบุรี, หลวงพ่อมุ่ย วัดดอนไร่ จ.สุพรรณบุรี, หลวงพ่อโพธิ์ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ จ.สุพรรณบุรีหลวง พ่อคำ วัดหน่อพุทธางกูร จ.สุพรรณบุรี, หลวงพ่อแต้ม วัดพระลอย จ.สุพรรณบุรี, หลวงพ่อแพ วัดพิกุลทอง จ.สิงห์บุรี, หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี ธนบุรี, หลวงพ่อถิร วัดป่าเลไลยก์ จ.สุพรรณบุรี, หลวงพ่อเจริญ วัดหนองนา จ.สุพรรณบุรี, หลวงพ่อพล วัดวังยายหุ่น จ.สุพรรณบุรี หลวงพ่อฮวด วัดดอนโพธิ์ทอง จ.สุพรรณบุรี, หลวงพ่อดี วัดพระรูป จ.สุพรรณบุรี, หลวงพ่อสำเนียง วัดเวฬุวนาราม จ.นครปฐม เป็นต้นพระ ร่วงยุทธหัตถีดอนเจดีย์ หลวงพ่อถิร วัดป่าเลไลยก์ ปี2513 เนื้อทองแดงรมดำ เหรียญดังกล่าว หลวงพ่อถิร ประกอบพิธีมหาพุทธาภิเษกใหญ่ มีวัตถุประสงค์จัดสร้างนำรายได้ไปสร้างสิ่งปลูกสร้างภายในวัดป่าเลไลยก์หลวงพ่อถิร ได้จัดสร้างเหรียญพระร่วงยุทธหัตถี จากเนื้อทองแดง จัดสร้าง เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2513 ตรงกับวันกองทัพไทยหลวงพ่อถิรได้จัดพิธีมหาพุทธาภิเษก มีพระเกจิอาจารย์กว่า 80 รูป ร่วมพิธีพุทธาภิเษก ด้านหน้าเหรียญ เป็นพระ พุทธรูปทรงเครื่อง ในอิริยาบถยืนบนแท่น ภายในซุ้มเรือน แก้ว มือขวายกขึ้นระดับหน้าอกแบ มือออก มือซ้ายขนานกับลำตัว แบหงายฝ่ามือออกด้านหน้านับเป็นกิริยาพระประ ทานพร ตัวองค์นูนลอยขึ้นมาเด่นชัดมีความคมชัดของเส้น นับเป็นพุทธศิลป์ที่งดงามสำหรับที่เรียกว่า "พระร่วงรางปืน" หรือ "พระร่วงหลังรางปืน" เนื่องจากด้านหลังขององค์พระมีลักษณะเป็นร่องลึกยาว ด้านหลังเหรียญ มีลักษณะเป็นร่องลึกยาวตลอดองค์ กลางเหรียญมีวงกลมเล็ก เป็นสัญลักษณ์รูปพระนเรศวรช้างทรง ด้านล่างเขียนว่า "ยุทธหัตถี"สำหรับเหรียญพระร่วงยุทธหัตถี มีพุทธคุณเด่นด้านเมตตามหานิยม อยู่ยงคงกระพัน เชื่อกันว่าผู้ที่มีเหรียญนี้ไว้ในครอบครอง หยิบจับงานสิ่งใดจะประสบความสำเร็จ เหมือนดังที่โบราณว่า ปากพระร่วง พูดสิ่งใด เป็นไปดังนั้น สมดังหวังพระร่วงรางปืน เป็นพระพุทธรูปทรงเครื่อง ในอิริยาบถยืนบนแท่น ภายในซุ้มเรือนแก้ว พระหัตถ์ขวายกขึ้นระดับพระอุระ พระกรซ้ายทอดลงขนาดกับลำพระองค์ แบหงายฝ่าพระหัตถ์ออกด้านหน้าเป็นกิริยาประทานพร ครองเครื่องจีวรห่มคลุมบางแนบพระวรกาย ปรากฏเส้นขอบจีวร บริเวณรอบพระศอและมีชายจีวรเป็นเส้นพลิ้วบางขนานกับพระองค์ตกลงมาเบื้องล่าง รายละเอียดของพระพักตร์ชัดเจน สีพระพักตร์ค่อนข้างเคร่งขรึม สวมศิราภรณ์ ได้แก่ กระบังหน้าและมงกุฎรูปกรวยหรือที่เรียกกันว่า หมวกชีโบ นุ่งสบง คาดด้วยรัดประคดที่มีการตกแต่งลวดลายที่ปรากฏในศิลปะเขมร แบบบายนที่มีชื่อเรียกว่า"พระร่วงรางปืน" หรือ "พระร่วงหลังรางปืน" เนื่องจากด้านหลังขององค์พระมีลักษณะเป็นร่องลึกยาวนับเป็นพระพิมพ์ที่นิยม เล่นหากันมาเป็นเวลานานทั้งยังได้รับการยกย่องให้เป็นจักรพรรดิ แห่งพระเนื้อชินพระร่วงรางปืนจัดเป็นพระพิมพ์สกุลช่างสกุล สุโขทัย ที่ได้รับอิทธพลจากศิลปะเขมรสมัยบายน หรือศิลปะแบบลพบุรีอายุราวพุทธศตวรรษ ที่18 เป็นพระพิมพ์เนื้อชินตะกั่วสนิมแดง เดิมจึงเรียกว่าพระสนิมแดงสันนิษฐานกันว่าคำเรียดขานพระพิมพ์ที่มี พุทธลักษณะเช่นนี้ว่า พระร่วง มีที่มาจากพระร่วงโรจนฤทธิ์ศรอินทราทิตย์ธรรมโมภาสมหาวชิราวุธปูชนียบพิตร ซึ่งพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดฯให้ปฏิสังขรณ์ขึ้นจากพระพุทธ รูปที่ชำรุดเหลือเพียงพระเศียร พระหัตถ์ และพระบาทที่ทรงได้มาจากเมืองศรีสัชนาลัย และนำมาประดิษฐานไว้ที่วิหารด้านทิศเหนือขององค์พระปฐมเจดีย์ เนื่องจากนักสะสมเห็นว่ามีพุทธลักษณะคล้ายคลึงกับพระสนิมแดงพระร่วงยุทธหัตถี วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร จัดสร้างตามสถานที่ที่พระนเรศวรมหาราชทรงศึกยุทธหัตถี ณ ดอนเจดีย์ สุพรรณบุรี เมื่อพุทธศักราช 2513จัดสร้างโดยพระรักขิตวันมุนี ( ถิร ) วัดป่าเลไลยก์ สุพรรณบุรีสมเด็จพระสังฆราช ทรงจุดเทียนชัย เวลา 11.00 น.สมเด็จพระวันรัต วัดพระเชตุพนฯเป็นประธานในพิธีพระอาจารย์ไสว สุมโนเป็นเจ้าพิธีช่างเกษม มงคลเจริญ แกะพิมพ์ทรงพิธีมหาพุทธาภิเษก เมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ.2513 วันกองทัพไทย โดยมีพระเกจิอาจารย์ 108 รูป ร่วมพิธีพุทธาภิเษก อาทิ1 พระราชสุพรรณาภรณ์ (เปลื้อง) วัดสุวรรณภูมิ จ.สุพรรณบุรี2 พระราชธรรมาภรณ์ (เงิน) วัดดอนยายหอม จ.นครปฐม3 พระราชปัญญาโสภณ (สุข) วัดราชนัดดา กรุงเทพ ฯ4 พระราชพุทธิรังษี (เจียม) วัดโสธรวราราม จ.ฉะเชิงเทรา5 พระโพธิวรคุณ (ฑูรย์) วัดโพธินิมิตร ธนบุรี6 พระเมธีธรรมสาร (ไสว) วัดบ้านกร่าง จ.สุพรรณบุรี7 พระพุทธมนต์วราจารย์ (สุพจน์) วัดสุทัศน์ กรุงเทพ ฯ8 พระรักขิตวันมุนี (ถิร) วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร อ.เมือง จ.สุพรรณบุรี9 พระครูประสาทวรคุณ (พริ้ง) วัดโบสถ์โก่งธนู จ.ลพบุรี10 พระครูประสาทวิทยาคม (นอ) วัดกลาง อ.ท่าเรือ จ.พระนครศรีอยุธยา11 พระครูศีลพรหมโสภิต (แพ) วัดพิกุลทอง อ.ท่าช้าง จ.สิงห์บุรี12 พระครูภาวนากิตติคุณ (น้อย) วัดธรรมศาลา จ.นครปฐม13 พระครูสถาพรพุทธมนต์ (สำเนียง) วัดเวฬุวนาราม จ.นครปฐม14 พระครูวิริยะกิตติ (โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี ธนบุรี15 พระครูพิทักษ์วิหารกิจ (สา) วัดราชนัดดา กรุงเทพ ฯ16 พระครูโสภนกัลยาณวัตร (เส่ง) วัดกัลยาณมิตร ธนบุรี17 พระครูพินิจสมาจารย์ (โด่) วัดนามตูม จ.ชลบุรี18 พระครูปัญญาโชติวัตร (เจริญ) วัดทองนพคุณ จ.เพชรบุรี19 พระครูประสาทพุทธิคุณ วัดคุ้งวารี จ.สุโขทัย20 พระครูเอนกคุณากร (แขก) วัดหัวเขา จ.สุพรรณบุรี21 พระครูสุวรรณวรคุณ (คำ) วัดหน่อพุทธางกูร จ.สุพรรณบุรี22 พระครูสุนทรานุกิจ (กริ่ง) วัดสามชุก จ.สุพรรณบุรี23 พระครูสุวรรณวิสุทธิ (เจริญ) วัดธัญญวารี จ.สุพรรณบุรี24 พระครูสุวรรณโพธิวัฒน์ (เพรียว) วัดโพธิทองเจริญ จ.สุพรรณบุรี25 พระครูนนทกิจวิมล (ชื่น) วัดตำหนักเหนือ จ.นนทบุรี26 พระครูพินิจวิหารการ (เทียม) วัดกษัตราธิราช จ.พระนครศรีอยุธยา27 พระครูศรีรัตนาภิรักษ์ (โพธิ์) วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ จ.สุพรรณบุรี28 พระครูใบฎีกาเติม วัดไร่ขิง จ.นครปฐม29 พระครูประภัศร์ธรรมาภรณ์ (แต้ม) วัดพระลอย จ.สุพรรณบุรี30 พระครูวิจิตรวิหารการ (เจิม) วัดกุฎีทอง จ.สุพรรณบุรี31 พระครูสุนทรธรรมจารี (อ๊อด) วัดพระธาตุ จ.สุพรรณบุรี32 พระครูอโศกสันติคุณ (สงัด) วัดดอนหอคอย จ.สุพรรณบุรี33 พระครูอุภัยภาดาทร (ขอม) วัดไผ่โรงวัว จ.สุพรรณบุรี34 พระครูวิมลสังวร (สังวร) วัดแค จ.สุพรรณบุรี35 พระครูสังฆรักษ์สัมฤทธิ์ วัดอู่ทอง จ.สุพรรณบุรี36 หลวงพ่อมิ วัดสิงห์ ธนบุรี37 พระครูปลัดสงัด วัดพระเชตุพนวิมังคลาราม กรุงเทพ ฯ38 พระอาจารย์ไสว วัดราชนัดดา กรุงเทพ ฯ39 พระอาจารย์สมคิด วัดเลา ธนบุรี40 พระอาจารย์หลวงพ่อผ่อง วัดจักรวรรดิ กรุงเทพ ฯ41 พระอาจารย์หลวงพ่อกก วัดดอนขมิ้น จ.กาญจนบุรี42 พระอาจารย์หลวงพ่อเณร วัดพรพระร่วง กรุงเทพ ฯ43 พระอาจารย์หลวงพ่อหอม วัดซากหมาก จ.ระยอง44 พระอาจารย์หลวงพ่อกี๋ วัดหูช้าง จ.นนทบุรี45 พระครูฉาย วัดชนะสงคราม กรุงเทพ ฯ46 พระอาจารย์สร้อย วัดเลียบราษฎร์บำรุง กรุงเทพ ฯ47 พระอธิการคำ วัดพระรูป จ.สุพรรณบุรี48 พระอาจารย์เผื่อน วัดพระรูป จ.สุพรรณบุรี49 พระธรรมธรทองดี วัดพระรูป จ.สุพรรณบุรี50 พระอาจารย์พล วัดนิเวศน์ธรรมาราม จ.สุพรรณบุรี51 พระอธิการทอง วัดประตูสาร จ.สุพรรณบุรี52 พระครูวิบูลย์คุณวัตร (หล่อ) วัดน้อย จ.อ่างทอง53 พระอาจารย์เกลื่อน วัดรางสงวน จ.อ่างทอง54 พระครูศีลโสภิต วัดทองพุ่มพวง จ.สุพรรณบุรี55 ท่านองสรพจนสุนทร วัดกุศลสมาคร กรุงเทพ ฯ56 พระครูสุวรรณวุฒาจารย์ (มุ่ย) วัดดอนไร่ จ.สุพรรณบุรี57 พระครูปรีชาวุฒิคุณ (ฮวด) วัดดอนโพธิ์ทอง จ.สุพรรณบุรี58 พระครูสุตาธิการี (ทองอยู่) วัดใหม่หนองพะอง จ.สมุทรสาคร59 พระสมุห์จำลอง วัดท่าสว่างศรีไพฑูรย์ จ.อุดรธานี60 พระครูวิเศษมงคลกิจ วัดกก กรุงเทพ ฯ61 พระมหาต่วน วัดมเหยงคณ์ จ.สุพรรณบุรี62 พระครูสุนทรวิริยานุวัตร วัดกุฎีทอง จ.สุพรรณบุรี63 พระครูศรีปทุมรักษ์ วัดศรีบัวบาน จ.สุพรรณบุรี64 พระครูอาทรศาสนกิจ วัดวังพระนอน จ.สุพรรณบุรี65 พระครูมงคลนิวิฐ วัดนิเวศน์ธรรมาราม จ.สุพรรณบุรี66 พระอาจารย์นุรัตน์ วัดนางพญา จ.พิษณุโลก67 พระครูปลัดพวน วัดท่าพระยาจักร์ จ.สุพรรณบุรี68 พระอาจารย์ธีระ วัดท่าพระยาจักร์ จงสุพรรณบุรี69 พระครูศรีปริยัตยานุรักษ์ วัดพันอ้น จ.เชียงใหม่70 พระครูศาสนกิจจาภิรมย์ วัดไผ่เดี่ยว จ.สุพรรณบุรี71 พระครูวาทีธรรมคุณ วัดลานคา จ.สุพรรณบุรี72 พระครูพินิตสุวรรณภูมิ วัดยุ้งทลาย จ.สุพรรณบุรี73 พระใบฎีกาทวน วัดอุทุมพราราม จ.สุพรรณบุรี74 พระมหาบุญ วัดพันตำลึง จ.สุพรรณบุรี75 พระใบฎีกาบุญชู วัดไตรรัตนาราม จ.สุพรรณบุรี76 พระครูสุนทรศีลคุณ วัดนางในธรรมิการาม จ.อ่างทอง77 พระครูวิเศษสุตกิจ วัดสำโรง จ.อ่างทอง78 พระครูถาวรธรรมนิเทศ วัดหลวง จ.อ่างทอง79 พระครูธรรมธรศรีรัตน์ วัดวิเศษ จ.อ่างทอง80 พระครูวรพรตศีลขันธ์ วัดอรัญญิกาวาส จ.ชลบุรี ฯลฯด้านหลัง มีสัญลักษณ์รูปช้างทรง
Read more
วันที่เริ่ม June 02, 2024 08:12:22
วันที่ปิดประมูล June 03, 2024 13:01:56
ราคาเปิด100
เพิ่มครั้งละ20
ธนาคารกสิกรไทย (บิ๊กซีสาขารามอินทรา) ,
ASS1168
ผู้เสนอราคาล่าสุด