วัดใจเคาะแรกแดง... สภาพสวยมาก แพะเขาควายแกะ มีจารรอบตัวเดิมๆ เก่ามากอายุไม่ต่ำกว่า 20 ปี เก่าถึงยุคๆ ตัวนี้ตัวผู้นะครับ สังเกตุดูเอง ตัวผู้ถือว่าเป็นตัวจ่าฝูงครับ อำนาจเหนือที่สุด หลวงพ่อลัด ท่านเป็นศิษย์เอกเรียนวิชาปลุกเสกแพะ มาจากหลวงปู่อ่ำสำนักวัดหนองกระบอกนี้ปลุกเสกแพะได้โด่งดังมาตั้งแต่สมัย หลวงพ่ออ่ำแล้วซึ่งท่านเป็นลูกศิษย์สืบทอดวิชามาจากหลวงปู่แตง วัดอ่างศิลา ร่วมสมัยเดียวกับหลวงพ่อปานวัดบางเหี้ยโดยจะนำเอาเขาควายที่ถูกฟ้าผ่าตายนำมาแกะเป็นรูปแพะ เพราะถือเป็นของอาถรรพณ์ชั้นเยี่ยม ตามตำราการสร้างกล่าวไว้ว่าแพะนั้นมีคุณสมบัติ 2 อย่างคือ ความอดทน เพราะแพะเป็นสัตว์ที่ตายยาก มีความอดทนสูง (คงกระพัน) และความมีเสน่ห์ เพราะแพะเป็นสัตว์ที่มีเสน่ห์แรง ตัวผู้หนึ่งตัวนั้นจะมีตัวเมียอยู่ด้วยเป็นฝูง (เมตตามหานิยม) คาถาอาราธนาในการใช้แพะหลวงพ่ออ่ำ ตั้งนะโม ๓ จบ ว่าด้วยคาถาดังนี้ครับ "อิทธิฤทธิ์ พุทธะนิมิตตัง อิมังคงกระพันธะนัง อธิฐามิ" คาถาที่ใช้ก่อนสวมคอ "อากาเสจะปีปังกะโร (คาถากันฟ้าผ่า) รับประกันแท้ตามกฎ
วัดใจแดงแรกเคาะ.. สภาพสวยมาก บล็อคนิยม ตัว พ. (12 จุด) นิยม หายาก รับประกันพระแท้
วัดใจแดงแรกเคาะเริ่มที่ขาดทุน (ลูกสุดท้าย) สภาพสวยมาก ส่งประกวดพระงานล่าสุดที่ศูนย์ราชการแจ้งวัฒนะ เมื่อวันที่ 4 ตุลาคมนี้ กรรมการรับเข้า แต่ไม่ติดรางวัล พิจารณากันได้เลย ...ของดีมีคุณภาพ อีกแล้ว....
ประวัติ หลวงปู่นาค วัดระฆัง หลวงปู่นาค โสภโณ วัดระฆังโฆสิตาราม กรุงเทพฯ ข้อมูลประวัติ เกิด : วันศุกร์ที่ 1 สิงหาคม 2427 ตรงกับขึ้น 10 ค่ำ เดือน 9 ปีวอก เป็นบุตรของ นายป้อม นางสวน มะเริงสิทธิ พื้นเพเป็นชานครราชสีมา บรรพชา : ณ วัดบึง โคราช อุปสมบท : อายุ 21 ปี พ.ศ.2448 ณ วัดระฆังโฆสิตาราม มรณภาพ : วันศุกร์ที่ 15 มกราคม 2514 เวลา 04.45 น. ณ โรงพยาบาลศิริราช รวมสิริอายุ : 87 ปี 66 พรรษา วัตถุมงคลที่ได้รับความนิยม พระเนื้อผงรุ่นแรก สร้างปี 2485 ประกอบด้วยพิมพ์ทรงเทวดาอกตัน-อกร่อง เทวดาขัดเพชร และพิมพ์สามเหลี่ยม พระเนื้อผงรุ่นสอง สร้างปี 2495 ประกอบด้วยพิมพ์สมเด็จโต นั่งบริกรรม พิมพ์ปรกโพธิ์ ฝังและไม่ฝังตะกรุด พิมพ์พระประธาน ฝังและไม่ฝังตะกรุด นางพญา คะแนนฐานสิงห์ รูปหล่อ เหรียญโล่ และเหรียญข้าวหลามตัด นอกจากนี้ยังมีอีกหลายรุ่น สร้างในปี พ.ศ.2499,2500,,2504,2507,2509 และรุ่นสุดท้ายคือรุ่นแซยิด 7 รอบ ปี 2511 พุทธคุณที่เล่าสืบทอดกันมา:พุทธคุณในเหรียญรุ่นนี้เด่นทาง เมตตามหานิยม พระ สมเด็จของหลวงปู่นาค วัดระฆัง เป็นพระสมเด็จที่มีส่วนผสมของเศษแตกหักของสมเด็จวัดระฆังที่ท่านได้เก็บรวบ รวมไว้เป็นจำนวนมากจากการที่มีประชาชนนำเศษแตกหักของพระสมเด็จมาทิ้งไว้ที่ วัดและการค้นพบพระสมเด็จจำนวนมากบนหลังคาโบสถ์วัดระฆังซึ่งท่านได้นำพระ สมเด็จที่แตกหักทั้งหมดร่วมกับการสร้างผงพุทธคุณของท่านตามตำรับของสมเด็จโต ทำให้พระสมเด็จของท่านโดยเฉพาะพระในยุคต้น ๆ ช่วงปี 2485-2495 มีเนื้อหามวลสารจัดจ้านน่าบูชายิ่งนัก ซึงนับว่าเป็นพระตระกูลสมเด็จที่มีเนื้อหามวลสารของพระสมเด็จวัดระฆังผสมไว้ มากที่สุด ที่ดูจะสูสีก็มีเพียงพระสมเด็จของพระครูมูล วัดสุทัศน์ รุ่นพิมพ์ทรงเจดีย์ 2485 เท่านั้น อีกทั้งพุทธคุณก็สูงล้ำในด้านเมตตามหานิยม เป็นที่เสาะแสวงหากันอย่างมาก แต่ เนื่องจากท่านได้สร้างพิมพ์ทรงของพระสมเด็จต่าง ๆ ไว้มากมาย ในวงการจึงนิยมเล่นหากันเฉพาะพิมพ์นิยมบางพิมพ์ของท่านที่มีเอกลักษณ์เฉพาะ ตัวใครเห็นก็ทราบว่าเป็นพระของท่าน เช่น พิมพ์เทวดาสามชั้นหูบายศรี พิมพ์ปรกโพธิ์ พิมพ์ชิ้นฟัก พิมพ์รูปเหมือนสมเด็จโต พิมพ์ซุ้มระฆัง เป็นต้น ส่วนพิมพ์อื่น ๆ ไม่ค่อยนิยมเช่าหากัน สำหรับพระสมเด็จของท่านที่มีเนื้อหาจัดจ้าน แก่ผงพระสมเด็จ หรือ มีการฝังตะกรุดไว้เป็นพิเศษ ตั้งแต่ 1ดอก 2 ดอก หรือ 3 ดอก จะหาได้ยากมากและเป็นที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก โดยจะเช่าหากันในราคาสูงกว่าปกติหลายเท่า เป็นที่น่าแปลกใจมากพระสมเด็จ ของหลวงปู่นาค วัดระฆังไปมีชื่อเสียงโด่งดังในประเทศมาเลเซียและสิงคโปร์เป็นอย่างมาก ปัจจุบันมีนักท่องเที่ยวจากประเทศดังกล่าวมากว้านซื้อกลับไปยังประเทศของตน เป็นจำนวนมาก ทำให้จำนวนพระสมเด็จของหลวงปู่นาค วัดระฆังในปัจจุบัน มีจำนวนลดลงเป็นอย่างมาก .... สำหรับเรื่องการสร้างวัตถุมงคลต่างๆ โดย เฉพาะประเภทพระเนื้อผงนั้น ท่านจะเน้นถึงความสำคัญเกี่ยวกับผงวิเศษที่นำมาบดผสมในการสร้างทุกครั้ง ใช้ผงถูกต้องตามสูตรที่สมเด็จพุทธจาร์ยโตสร้างเลยครับ โดยเรียนมาจาก พุทธโฆษาจารย์ เจริญ หลวงปู่ได้สร้างวัตถุมงคล ทั้งสมเด็จ และพระเนื้อผง และเหรียญ ไว้เป็นจำนวนมาก เท่าที่ทราบไม่ต่ำกว่า 50 พิมพ์ขึ้นไป ทางวัดจัดสร้างบ้าง ลูกศิษย์สร้างบ้าง และวัดอื่นสร้างบ้างและมาให้ท่านปลุกเสกให้บ้าง พระยุคแรกประมาณปี 2484 จนถึงปี 2495 ท่านได้สร้างพระเป็์นจำนวนมาก โดยได้ผสมผงเก่าสมเด็จโต ผงพระปิลันทร์ ผลอิทธิเจ ซึ่งหลวงปู่ได้ปลุกเสกเองตามตำรับสมเด็จโต พรหมรังสี โดยได้นำผงเก่าทั้งหมดมาปั้นเป็นแท่งและเขียนอักขระยันต์ลงแผ่นกระดาน 108 ครั้้ง จึงได้ลบผงบนกระดานนำมาสร้างพระสมเด็จและพระเนื่้อผงต่างๆ เช่น วัดประสาทในปี 2506 วัดจังหวัดอยุธยา วัดละครทำ วัดชิโนรส และวัดอื่นอีกหลายวันที่ยังไม่ได้อ้างถึงครับ การปลุกเสกวัตถุมงคล หลัง จากพิมพ์พระเสร็จ หลวงปู่นาคท่านจะให้ลูกศิษย์นำพระเครื่องทั้งหมดไปไว้ในพระอุโบสถ หลังจากทำวัตรสวดมนต์เย็นเสร็จแล้ ว ท่านจะปิดประตูโบถส์ อยู่เพียงลำพังท่านเดียว และทำการปลุกเสกพระจนถึงเที่ยงคืน จึงกลับกุฏิจำวัด รุ่งขึ้นจึงนำพระเครื่องทั้งหมดมาไว้ที่วิหารสมเด็จโต ทำการปลุกเสกตอนกลางคืนอีกวาระหนึ่ง จากนั้นก็นำมาทำการปลุกเสกในกุฏิของท่านอีกครั้งเป็นอันเสร็จสิ้นพิธีการ ปลุกเสกพระ สาเหตุที่ท่านทำเช่นนี้ ท่านได้เมตตาเล่าให้ฟังว่า...หลวงพ่อพระประธานในโบสถ์ ท่านศักดิ์สิทธิ์ เราเป็นเพียงตถาคตมาอาศัยสถานที่ท่านพำนัก จะทำสิ่งใดก็ต้องบอกกล่าวท่าน และให้ท่านช่วยปลุกเสกให้ด้วยจึงจะถูกต้อง ...ส่วนที่นำเข้าวิหารสมเด็จโต เพราะสมเด็จโตนี้ท่านเป็นเจ้าอาวาสวัดระฆังฯมาก่อน และ เป็นครูบาอาจารย์ขอข้า จะทำอะไรก็ต้องบอกกล่าวท่านก่อน แล้วให้ท่านมาร่วมรับรู้และช่วยกันปลุกเสกแผ่พลังจิตพระเครื่องเหล่านี้ด้วย จึงจะสมบูรณ์ พระสมเด็จของหลวงปู่นาค วัดระฆัง ถือได้ว่าเป็นพระดี ราคาถูกนะครับ เมื่อเปรียบเทียบกับพุทธคุณ และมวลสารแล้วสุดยอดมากราคาก็ไม่แพงเลย น่าใช้มากๆ ผมรับประกันพระแท้ตากฎทุกประการ ขอบคุณมากครับ
พระเครื่อง หลวงพ่อทวด " รุ่น ๑ " หลังเตารีด เนื้อนวโลหะ จัดสร้างเป็นครั้งแรกของวัดช้าง โดยพระเถระวัดช้างให้ จ. ปัตตานี ปลุกเสกพระเครื่องดังแห่งปี มหาพิธีปลุกเสกชุมนุม ๑๐๘ พ่อท่านภาคใต้ , ๑๐๘ ท่านเจ้าวัดเมืองปัตตานี , ๑๐๘ พระเถระนครนายก พระ ครูโสภณ นาคกิจ ได้จัดสร้างรูปเหมือนจำลององค์หลวงพ่อทวด ขนาดเท่าองค์จริงเพื่อประดิษฐานในวิหารบูรพาจารย์ ณ วัดช้าง อำเภอบ้านนา จังหวัดนครนายก การเททองหล่อองค์หลวงพ่อทวด ประกอบพิธีตามมงคลฤกษ์ได้ ดิถีอมฤคโชค " จันทร์ตรี " การเททองเหลือเนื้อโลหะก้นเบ้าจำนวนมาก ทาง วัดช้าง จึงได้นำโลหะที่เหลือมาหลอมรีดปั๊มเป็นองค์หลวงพ่อทวด และประกอบพิธีปลุกเสกใน ดิถีอมฤคโชค " เสาร์ห้า " เป็นฤกษ์ดีในรอบ ๑๐๐ ปี คือวันที่ ๒๐ มีนาคม รวม ๔ วัน ๓ คืน นับเป็นพิธีใหญ่ที่สุดในการสร้าง หลวง พ่อทวด ฤกษ์ เสาร์ ๕ พ.ศ. ๒๕๕๓ เนื้อองค์พระ เป็นเนื้อนวะโลหะสูตรโบราณของวัดช่าง จากท่านอาจารย์นิรันดร์(หนู) แดงวิจิตร แต่แรกท่านพระครูโสภณนาคกิจ หรือพระอาจารย์เดช ได้นำมวลสารแร่ธาตุก้านชนวนพระกริ่งรุ่นเก่า ๆ ของวัดช้าง ที่ได้มาจากวัด สุทัศน์ ผสมกับแผ่นโลหะพระยันต์ ๑๐๘ นะปะถะมัง ๑๔ นะ พระรัตนสูตร พระมงคลสูตร โลหะก้นเบ้าจากการสร้างพระกริ่งในอดีต มาหล่อหลอม เนื้อ เหลือ จากการเททอง ได้นำมาผสมกับทองคำแท่งเป็นโลหะ ๙ ชนิด ปั๊มเป็นองค์พระหลวงพ่อทวด รุ่น ๑ ของวัดช้าง ผิวองค์พระเมื่อแรกปั๊มแบ่งเป็น ๒ ชนิดคือ ๑. ชนิดผิวเดิมธรรมชาติ และ ๒. ชนิดผิวปัดลูกผ้า โดยเนื้อในขององค์พระจะเป็นสีส้มอมชมพูเข้ม ซึ่งสร้างกระแสความสนใจให้พุทธศาสนิกชนทั่วประเทศเป็นอย่างยิ่ง เพราะเป็นรุ่น ๑ ของวัดช้าง ที่มีพระคณาจารย์พ่อท่านทางภาคใต้ พระพิธีจากวัดช้างให้ และพระคณาจารย์จังหวัดนครนายก กว่า ๓๖๐ รูป มาทำการปลุกเสกให้อย่างยิ่งใหญ่ พิมพ์ทรงองค์พระ หลวงพ่อทวด รุ่น ๑ ด้านหน้าองค์พระประทับบัลลังก์บัวแก้ว ลักษณะของบัวแบ่งเป็นด้านบน ๗ กลีบหงาย ด้านล่าง ๗ กลีบคว่ำ สันกลีบบัวปรากฏเ-กลาง สำหรับพิมพ์เดิม ๆ ผิวธรรมชาติจะยังคงเ-ชัดเจน ส่วนพิมพ์ผิวขัดปัดลูกผ้าอาจจะสึกเพราะการขัดเงาของช่าง จึงทำให้เ-กลางกลีบบัวหาย องค์พระพิมพ์หัวโตคล้ายพิมพ์หลังตัวหนังสือในอดีต ต่างตรงด้านหน้าเป็นทรงเตารีด และพิเศษมีเลข ๑ หลวงพ่อทวดรุ่น ๑ วัดช้าง นับเป็นปฏิมากรรมการสร้างรูปเหมือนหลวงพ่อทวดมิติใหม่ที่ไม่ทิ้งความนิยม จากอดีต ซึ่งยังคงรูปลักษณ์ความศัทราแห่งบารมีเทพเจ้าเหยียบน้ำทะเลจืดไว้ดังเดิม โดยพิมพ์เป็นเอกลักษณ์พิมพ์เดียว แต่ถอดพิมพ์ได้ ๘ บล็อก ดังปรากฏตัวเลขที่จะระบุไว้กับกล่องที่จะบรรจุพระพิธีพระเถระ "พ่อท่าน" เมืองใต้ ในการปลุกเสกหลวงพ่อทวด มีขึ้นในวันที่ ๒๒ มีนาคม ๒๕๕๓ ตรงกับวันจันที์ขึ้น ๗ ค่ำ เดือน ๕ ปีขาล ได้ฏีกาอาราธนาพระเถระ พ่อท่านจาก ๑๔ จังหวัดภาคใต้ขึ้นมาประกอบพิธีกรรมอย่างยิ่งใหญ่ ซึ่งมีพ่อท่านประสูติ วัดในเตา จ. ตรัง คัดเลือกรายนามพระเกจิอาจารย์ เพื่อ รวมพลังปลุกเสกหลวงพ่อทวด ณ วัดช้าง อ. บ้านนา จ. นครนายก ที่สำคัญพ่อท่านเมืองใต้ มีพระเถระผู้ทรงวิทยาคุณมารวมพลังปลุกเสกมากเป็นครั้งประวัติการณ์ กว่า ๑๐๘ รูป โดยพิธีมังคลาพิเษกหลวงพ่อทวดมีขึ้นตั้งแต่วันที่ ๒๐ เป็นพิธีใหญ่จุดเทียนชัย " เสาร์ ๕ " ถึงวันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๕๓ รวม ๔ วัน ๓ คืน พิธีเถระ "ท่านเจ้าวัด" แห่งเมืองปัตตานี พิธีนี้เป็นการอันเชิญดวงวิญญาณองค์หลวงพ่อทวด ในการจัดสมโภชรูปเหมือน องค์จำลอง ทำพิธีเบิกเนตรหลวงพ่อทวด วันอาทิตย์ที่ ๒๑ มีนาคม ๒๕๕๓ ใน พิธีนี้ ท่านเจ้าคุณองค์รอง "วัดช้างให้" ปัตตานี ได้นำพลเจ้าอาวาส ฯ หรือที่เรียกว่าท่านเจ้าวัด กว่า๑๐๘ รูป มาเจริญพระพุทธมนต์ครบสูตร ต่อจากนั้นได้บริกรรมอธิษฐานจิตปลุกเสกพระเครื่อง รุ่น ๑ แห่งวัดช้าง เพื่อให้เป็นตำนานความศักดิ์สิทธิ์...
ขอบคุณครับ (auto feedback)
พระปิดตา หล่อโบราณ แร่บางไผ่ วัดสามง่าม จ.นนทบุรี เนื้อแร่บางไผ่แท้ๆ เนื้อมีสนิมให้ศึกษา พระสภาพสวยมาก มีคราบเบ้าเดิมๆ มีเอกลักษณ์เป็นของตัวเองยากที่ใครจะลอกเรียนได้ แท้ สวยมาก ท้องที่เก็บกันนะครับ พระมีประสบการณ์ พุทธคุณดีมากๆ สำหรับแร่บางไผ่นั้นถือกันว่าเป็น แร่ที่มีความศักดิ์สิทธิ์ในตัวเองมาช้านานแล้วนะครับ ผมรับประกันพระแท้ตามฎุกประการครับ ขอบคุณครับ
พระเครื่อง หลวงพ่อทวด " รุ่น ๑ " หลังเตารีด เนื้อนวโลหะ จัดสร้างเป็นครั้งแรกของวัดช้าง โดยพระเถระวัดช้างให้ จ. ปัตตานี ปลุกเสกพระเครื่องดังแห่งปี มหาพิธีปลุกเสกชุมนุม ๑๐๘ พ่อท่านภาคใต้ , ๑๐๘ ท่านเจ้าวัดเมืองปัตตานี , ๑๐๘ พระเถระนครนายก พระ ครูโสภณ นาคกิจ ได้จัดสร้างรูปเหมือนจำลององค์หลวงพ่อทวด ขนาดเท่าองค์จริงเพื่อประดิษฐานในวิหารบูรพาจารย์ ณ วัดช้าง อำเภอบ้านนา จังหวัดนครนายก การเททองหล่อองค์หลวงพ่อทวด ประกอบพิธีตามมงคลฤกษ์ได้ ดิถีอมฤคโชค " จันทร์ตรี " การเททองเหลือเนื้อโลหะก้นเบ้าจำนวนมาก ทาง วัดช้าง จึงได้นำโลหะที่เหลือมาหลอมรีดปั๊มเป็นองค์หลวงพ่อทวด และประกอบพิธีปลุกเสกใน ดิถีอมฤคโชค " เสาร์ห้า " เป็นฤกษ์ดีในรอบ ๑๐๐ ปี คือวันที่ ๒๐ มีนาคม รวม ๔ วัน ๓ คืน นับเป็นพิธีใหญ่ที่สุดในการสร้าง หลวง พ่อทวด ฤกษ์ เสาร์ ๕ พ.ศ. ๒๕๕๓ เนื้อองค์พระ เป็นเนื้อนวะโลหะสูตรโบราณของวัดช่าง จากท่านอาจารย์นิรันดร์(หนู) แดงวิจิตร แต่แรกท่านพระครูโสภณนาคกิจ หรือพระอาจารย์เดช ได้นำมวลสารแร่ธาตุก้านชนวนพระกริ่งรุ่นเก่า ๆ ของวัดช้าง ที่ได้มาจากวัด สุทัศน์ ผสมกับแผ่นโลหะพระยันต์ ๑๐๘ นะปะถะมัง ๑๔ นะ พระรัตนสูตร พระมงคลสูตร โลหะก้นเบ้าจากการสร้างพระกริ่งในอดีต มาหล่อหลอม เนื้อ เหลือ จากการเททอง ได้นำมาผสมกับทองคำแท่งเป็นโลหะ ๙ ชนิด ปั๊มเป็นองค์พระหลวงพ่อทวด รุ่น ๑ ของวัดช้าง ผิวองค์พระเมื่อแรกปั๊มแบ่งเป็น ๒ ชนิดคือ ๑. ชนิดผิวเดิมธรรมชาติ และ ๒. ชนิดผิวปัดลูกผ้า โดยเนื้อในขององค์พระจะเป็นสีส้มอมชมพูเข้ม ซึ่งสร้างกระแสความสนใจให้พุทธศาสนิกชนทั่วประเทศเป็นอย่างยิ่ง เพราะเป็นรุ่น ๑ ของวัดช้าง ที่มีพระคณาจารย์พ่อท่านทางภาคใต้ พระพิธีจากวัดช้างให้ และพระคณาจารย์จังหวัดนครนายก กว่า ๓๖๐ รูป มาทำการปลุกเสกให้อย่างยิ่งใหญ่ พิมพ์ทรงองค์พระ หลวงพ่อทวด รุ่น ๑ ด้านหน้าองค์พระประทับบัลลังก์บัวแก้ว ลักษณะของบัวแบ่งเป็นด้านบน ๗ กลีบหงาย ด้านล่าง ๗ กลีบคว่ำ สันกลีบบัวปรากฏเ-กลาง สำหรับพิมพ์เดิม ๆ ผิวธรรมชาติจะยังคงเ-ชัดเจน ส่วนพิมพ์ผิวขัดปัดลูกผ้าอาจจะสึกเพราะการขัดเงาของช่าง จึงทำให้เ-กลางกลีบบัวหาย องค์พระพิมพ์หัวโตคล้ายพิมพ์หลังตัวหนังสือในอดีต ต่างตรงด้านหน้าเป็นทรงเตารีด และพิเศษมีเลข ๑ หลวงพ่อทวดรุ่น ๑ วัดช้าง นับเป็นปฏิมากรรมการสร้างรูปเหมือนหลวงพ่อทวดมิติใหม่ที่ไม่ทิ้งความนิยม จากอดีต ซึ่งยังคงรูปลักษณ์ความศัทราแห่งบารมีเทพเจ้าเหยียบน้ำทะเลจืดไว้ดังเดิม โดยพิมพ์เป็นเอกลักษณ์พิมพ์เดียว แต่ถอดพิมพ์ได้ ๘ บล็อก ดังปรากฏตัวเลขที่จะระบุไว้กับกล่องที่จะบรรจุพระพิธีพระเถระ "พ่อท่าน" เมืองใต้ ในการปลุกเสกหลวงพ่อทวด มีขึ้นในวันที่ ๒๒ มีนาคม ๒๕๕๓ ตรงกับวันจันที์ขึ้น ๗ ค่ำ เดือน ๕ ปีขาล ได้ฏีกาอาราธนาพระเถระ พ่อท่านจาก ๑๔ จังหวัดภาคใต้ขึ้นมาประกอบพิธีกรรมอย่างยิ่งใหญ่ ซึ่งมีพ่อท่านประสูติ วัดในเตา จ. ตรัง คัดเลือกรายนามพระเกจิอาจารย์ เพื่อ รวมพลังปลุกเสกหลวงพ่อทวด ณ วัดช้าง อ. บ้านนา จ. นครนายก ที่สำคัญพ่อท่านเมืองใต้ มีพระเถระผู้ทรงวิทยาคุณมารวมพลังปลุกเสกมากเป็นครั้งประวัติการณ์ กว่า ๑๐๘ รูป โดยพิธีมังคลาพิเษกหลวงพ่อทวดมีขึ้นตั้งแต่วันที่ ๒๐ เป็นพิธีใหญ่จุดเทียนชัย " เสาร์ ๕ " ถึงวันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๕๓ รวม ๔ วัน ๓ คืน พิธีเถระ "ท่านเจ้าวัด" แห่งเมืองปัตตานี พิธีนี้เป็นการอันเชิญดวงวิญญาณองค์หลวงพ่อทวด ในการจัดสมโภชรูปเหมือน องค์จำลอง ทำพิธีเบิกเนตรหลวงพ่อทวด วันอาทิตย์ที่ ๒๑ มีนาคม ๒๕๕๓ ใน พิธีนี้ ท่านเจ้าคุณองค์รอง "วัดช้างให้" ปัตตานี ได้นำพลเจ้าอาวาส ฯ หรือที่เรียกว่าท่านเจ้าวัด กว่า๑๐๘ รูป มาเจริญพระพุทธมนต์ครบสูตร ต่อจากนั้นได้บริกรรมอธิษฐานจิตปลุกเสกพระเครื่อง รุ่น ๑ แห่งวัดช้าง เพื่อให้เป็นตำนานความศักดิ์สิทธิ์...
พระเครื่อง หลวงพ่อทวด " รุ่น ๑ " หลังเตารีด เนื้อนวโลหะ จัดสร้างเป็นครั้งแรกของวัดช้าง โดยพระเถระวัดช้างให้ จ. ปัตตานี ปลุกเสกพระเครื่องดังแห่งปี มหาพิธีปลุกเสกชุมนุม ๑๐๘ พ่อท่านภาคใต้ , ๑๐๘ ท่านเจ้าวัดเมืองปัตตานี , ๑๐๘ พระเถระนครนายก พระ ครูโสภณ นาคกิจ ได้จัดสร้างรูปเหมือนจำลององค์หลวงพ่อทวด ขนาดเท่าองค์จริงเพื่อประดิษฐานในวิหารบูรพาจารย์ ณ วัดช้าง อำเภอบ้านนา จังหวัดนครนายก การเททองหล่อองค์หลวงพ่อทวด ประกอบพิธีตามมงคลฤกษ์ได้ ดิถีอมฤคโชค " จันทร์ตรี " การเททองเหลือเนื้อโลหะก้นเบ้าจำนวนมาก ทาง วัดช้าง จึงได้นำโลหะที่เหลือมาหลอมรีดปั๊มเป็นองค์หลวงพ่อทวด และประกอบพิธีปลุกเสกใน ดิถีอมฤคโชค " เสาร์ห้า " เป็นฤกษ์ดีในรอบ ๑๐๐ ปี คือวันที่ ๒๐ มีนาคม รวม ๔ วัน ๓ คืน นับเป็นพิธีใหญ่ที่สุดในการสร้าง หลวง พ่อทวด ฤกษ์ เสาร์ ๕ พ.ศ. ๒๕๕๓ เนื้อองค์พระ เป็นเนื้อนวะโลหะสูตรโบราณของวัดช่าง จากท่านอาจารย์นิรันดร์(หนู) แดงวิจิตร แต่แรกท่านพระครูโสภณนาคกิจ หรือพระอาจารย์เดช ได้นำมวลสารแร่ธาตุก้านชนวนพระกริ่งรุ่นเก่า ๆ ของวัดช้าง ที่ได้มาจากวัด สุทัศน์ ผสมกับแผ่นโลหะพระยันต์ ๑๐๘ นะปะถะมัง ๑๔ นะ พระรัตนสูตร พระมงคลสูตร โลหะก้นเบ้าจากการสร้างพระกริ่งในอดีต มาหล่อหลอม เนื้อ เหลือ จากการเททอง ได้นำมาผสมกับทองคำแท่งเป็นโลหะ ๙ ชนิด ปั๊มเป็นองค์พระหลวงพ่อทวด รุ่น ๑ ของวัดช้าง ผิวองค์พระเมื่อแรกปั๊มแบ่งเป็น ๒ ชนิดคือ ๑. ชนิดผิวเดิมธรรมชาติ และ ๒. ชนิดผิวปัดลูกผ้า โดยเนื้อในขององค์พระจะเป็นสีส้มอมชมพูเข้ม ซึ่งสร้างกระแสความสนใจให้พุทธศาสนิกชนทั่วประเทศเป็นอย่างยิ่ง เพราะเป็นรุ่น ๑ ของวัดช้าง ที่มีพระคณาจารย์พ่อท่านทางภาคใต้ พระพิธีจากวัดช้างให้ และพระคณาจารย์จังหวัดนครนายก กว่า ๓๖๐ รูป มาทำการปลุกเสกให้อย่างยิ่งใหญ่ พิมพ์ทรงองค์พระ หลวงพ่อทวด รุ่น ๑ ด้านหน้าองค์พระประทับบัลลังก์บัวแก้ว ลักษณะของบัวแบ่งเป็นด้านบน ๗ กลีบหงาย ด้านล่าง ๗ กลีบคว่ำ สันกลีบบัวปรากฏเ-กลาง สำหรับพิมพ์เดิม ๆ ผิวธรรมชาติจะยังคงเ-ชัดเจน ส่วนพิมพ์ผิวขัดปัดลูกผ้าอาจจะสึกเพราะการขัดเงาของช่าง จึงทำให้เ-กลางกลีบบัวหาย องค์พระพิมพ์หัวโตคล้ายพิมพ์หลังตัวหนังสือในอดีต ต่างตรงด้านหน้าเป็นทรงเตารีด และพิเศษมีเลข ๑ หลวงพ่อทวดรุ่น ๑ วัดช้าง นับเป็นปฏิมากรรมการสร้างรูปเหมือนหลวงพ่อทวดมิติใหม่ที่ไม่ทิ้งความนิยม จากอดีต ซึ่งยังคงรูปลักษณ์ความศัทราแห่งบารมีเทพเจ้าเหยียบน้ำทะเลจืดไว้ดังเดิม โดยพิมพ์เป็นเอกลักษณ์พิมพ์เดียว แต่ถอดพิมพ์ได้ ๘ บล็อก ดังปรากฏตัวเลขที่จะระบุไว้กับกล่องที่จะบรรจุพระพิธีพระเถระ "พ่อท่าน" เมืองใต้ ในการปลุกเสกหลวงพ่อทวด มีขึ้นในวันที่ ๒๒ มีนาคม ๒๕๕๓ ตรงกับวันจันที์ขึ้น ๗ ค่ำ เดือน ๕ ปีขาล ได้ฏีกาอาราธนาพระเถระ พ่อท่านจาก ๑๔ จังหวัดภาคใต้ขึ้นมาประกอบพิธีกรรมอย่างยิ่งใหญ่ ซึ่งมีพ่อท่านประสูติ วัดในเตา จ. ตรัง คัดเลือกรายนามพระเกจิอาจารย์ เพื่อ รวมพลังปลุกเสกหลวงพ่อทวด ณ วัดช้าง อ. บ้านนา จ. นครนายก ที่สำคัญพ่อท่านเมืองใต้ มีพระเถระผู้ทรงวิทยาคุณมารวมพลังปลุกเสกมากเป็นครั้งประวัติการณ์ กว่า ๑๐๘ รูป โดยพิธีมังคลาพิเษกหลวงพ่อทวดมีขึ้นตั้งแต่วันที่ ๒๐ เป็นพิธีใหญ่จุดเทียนชัย " เสาร์ ๕ " ถึงวันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๕๓ รวม ๔ วัน ๓ คืน พิธีเถระ "ท่านเจ้าวัด" แห่งเมืองปัตตานี พิธีนี้เป็นการอันเชิญดวงวิญญาณองค์หลวงพ่อทวด ในการจัดสมโภชรูปเหมือน องค์จำลอง ทำพิธีเบิกเนตรหลวงพ่อทวด วันอาทิตย์ที่ ๒๑ มีนาคม ๒๕๕๓ ใน พิธีนี้ ท่านเจ้าคุณองค์รอง "วัดช้างให้" ปัตตานี ได้นำพลเจ้าอาวาส ฯ หรือที่เรียกว่าท่านเจ้าวัด กว่า๑๐๘ รูป มาเจริญพระพุทธมนต์ครบสูตร ต่อจากนั้นได้บริกรรมอธิษฐานจิตปลุกเสกพระเครื่อง รุ่น ๑ แห่งวัดช้าง เพื่อให้เป็นตำนานความศักดิ์สิทธิ์...
พระเครื่อง หลวงพ่อทวด " รุ่น ๑ " หลังเตารีด เนื้อนวโลหะ จัดสร้างเป็นครั้งแรกของวัดช้าง โดยพระเถระวัดช้างให้ จ. ปัตตานี ปลุกเสกพระเครื่องดังแห่งปี มหาพิธีปลุกเสกชุมนุม ๑๐๘ พ่อท่านภาคใต้ , ๑๐๘ ท่านเจ้าวัดเมืองปัตตานี , ๑๐๘ พระเถระนครนายก พระ ครูโสภณ นาคกิจ ได้จัดสร้างรูปเหมือนจำลององค์หลวงพ่อทวด ขนาดเท่าองค์จริงเพื่อประดิษฐานในวิหารบูรพาจารย์ ณ วัดช้าง อำเภอบ้านนา จังหวัดนครนายก การเททองหล่อองค์หลวงพ่อทวด ประกอบพิธีตามมงคลฤกษ์ได้ ดิถีอมฤคโชค " จันทร์ตรี " การเททองเหลือเนื้อโลหะก้นเบ้าจำนวนมาก ทาง วัดช้าง จึงได้นำโลหะที่เหลือมาหลอมรีดปั๊มเป็นองค์หลวงพ่อทวด และประกอบพิธีปลุกเสกใน ดิถีอมฤคโชค " เสาร์ห้า " เป็นฤกษ์ดีในรอบ ๑๐๐ ปี คือวันที่ ๒๐ มีนาคม รวม ๔ วัน ๓ คืน นับเป็นพิธีใหญ่ที่สุดในการสร้าง หลวง พ่อทวด ฤกษ์ เสาร์ ๕ พ.ศ. ๒๕๕๓ เนื้อองค์พระ เป็นเนื้อนวะโลหะสูตรโบราณของวัดช่าง จากท่านอาจารย์นิรันดร์(หนู) แดงวิจิตร แต่แรกท่านพระครูโสภณนาคกิจ หรือพระอาจารย์เดช ได้นำมวลสารแร่ธาตุก้านชนวนพระกริ่งรุ่นเก่า ๆ ของวัดช้าง ที่ได้มาจากวัด สุทัศน์ ผสมกับแผ่นโลหะพระยันต์ ๑๐๘ นะปะถะมัง ๑๔ นะ พระรัตนสูตร พระมงคลสูตร โลหะก้นเบ้าจากการสร้างพระกริ่งในอดีต มาหล่อหลอม เนื้อ เหลือ จากการเททอง ได้นำมาผสมกับทองคำแท่งเป็นโลหะ ๙ ชนิด ปั๊มเป็นองค์พระหลวงพ่อทวด รุ่น ๑ ของวัดช้าง ผิวองค์พระเมื่อแรกปั๊มแบ่งเป็น ๒ ชนิดคือ ๑. ชนิดผิวเดิมธรรมชาติ และ ๒. ชนิดผิวปัดลูกผ้า โดยเนื้อในขององค์พระจะเป็นสีส้มอมชมพูเข้ม ซึ่งสร้างกระแสความสนใจให้พุทธศาสนิกชนทั่วประเทศเป็นอย่างยิ่ง เพราะเป็นรุ่น ๑ ของวัดช้าง ที่มีพระคณาจารย์พ่อท่านทางภาคใต้ พระพิธีจากวัดช้างให้ และพระคณาจารย์จังหวัดนครนายก กว่า ๓๖๐ รูป มาทำการปลุกเสกให้อย่างยิ่งใหญ่ พิมพ์ทรงองค์พระ หลวงพ่อทวด รุ่น ๑ ด้านหน้าองค์พระประทับบัลลังก์บัวแก้ว ลักษณะของบัวแบ่งเป็นด้านบน ๗ กลีบหงาย ด้านล่าง ๗ กลีบคว่ำ สันกลีบบัวปรากฏเ-กลาง สำหรับพิมพ์เดิม ๆ ผิวธรรมชาติจะยังคงเ-ชัดเจน ส่วนพิมพ์ผิวขัดปัดลูกผ้าอาจจะสึกเพราะการขัดเงาของช่าง จึงทำให้เ-กลางกลีบบัวหาย องค์พระพิมพ์หัวโตคล้ายพิมพ์หลังตัวหนังสือในอดีต ต่างตรงด้านหน้าเป็นทรงเตารีด และพิเศษมีเลข ๑ หลวงพ่อทวดรุ่น ๑ วัดช้าง นับเป็นปฏิมากรรมการสร้างรูปเหมือนหลวงพ่อทวดมิติใหม่ที่ไม่ทิ้งความนิยม จากอดีต ซึ่งยังคงรูปลักษณ์ความศัทราแห่งบารมีเทพเจ้าเหยียบน้ำทะเลจืดไว้ดังเดิม โดยพิมพ์เป็นเอกลักษณ์พิมพ์เดียว แต่ถอดพิมพ์ได้ ๘ บล็อก ดังปรากฏตัวเลขที่จะระบุไว้กับกล่องที่จะบรรจุพระพิธีพระเถระ "พ่อท่าน" เมืองใต้ ในการปลุกเสกหลวงพ่อทวด มีขึ้นในวันที่ ๒๒ มีนาคม ๒๕๕๓ ตรงกับวันจันที์ขึ้น ๗ ค่ำ เดือน ๕ ปีขาล ได้ฏีกาอาราธนาพระเถระ พ่อท่านจาก ๑๔ จังหวัดภาคใต้ขึ้นมาประกอบพิธีกรรมอย่างยิ่งใหญ่ ซึ่งมีพ่อท่านประสูติ วัดในเตา จ. ตรัง คัดเลือกรายนามพระเกจิอาจารย์ เพื่อ รวมพลังปลุกเสกหลวงพ่อทวด ณ วัดช้าง อ. บ้านนา จ. นครนายก ที่สำคัญพ่อท่านเมืองใต้ มีพระเถระผู้ทรงวิทยาคุณมารวมพลังปลุกเสกมากเป็นครั้งประวัติการณ์ กว่า ๑๐๘ รูป โดยพิธีมังคลาพิเษกหลวงพ่อทวดมีขึ้นตั้งแต่วันที่ ๒๐ เป็นพิธีใหญ่จุดเทียนชัย " เสาร์ ๕ " ถึงวันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๕๓ รวม ๔ วัน ๓ คืน พิธีเถระ "ท่านเจ้าวัด" แห่งเมืองปัตตานี พิธีนี้เป็นการอันเชิญดวงวิญญาณองค์หลวงพ่อทวด ในการจัดสมโภชรูปเหมือน องค์จำลอง ทำพิธีเบิกเนตรหลวงพ่อทวด วันอาทิตย์ที่ ๒๑ มีนาคม ๒๕๕๓ ใน พิธีนี้ ท่านเจ้าคุณองค์รอง "วัดช้างให้" ปัตตานี ได้นำพลเจ้าอาวาส ฯ หรือที่เรียกว่าท่านเจ้าวัด กว่า๑๐๘ รูป มาเจริญพระพุทธมนต์ครบสูตร ต่อจากนั้นได้บริกรรมอธิษฐานจิตปลุกเสกพระเครื่อง รุ่น ๑ แห่งวัดช้าง เพื่อให้เป็นตำนานความศักดิ์สิทธิ์...