พระเครื่อง หลวงพ่อทวด " รุ่น ๑ " หลังเตารีด เนื้อนวโลหะ จัดสร้างเป็นครั้งแรกของวัดช้าง โดยพระเถระวัดช้างให้ จ. ปัตตานี ปลุกเสกพระเครื่องดังแห่งปี มหาพิธีปลุกเสกชุมนุม ๑๐๘ พ่อท่านภาคใต้ , ๑๐๘ ท่านเจ้าวัดเมืองปัตตานี , ๑๐๘ พระเถระนครนายก พระ ครูโสภณ นาคกิจ ได้จัดสร้างรูปเหมือนจำลององค์หลวงพ่อทวด ขนาดเท่าองค์จริงเพื่อประดิษฐานในวิหารบูรพาจารย์ ณ วัดช้าง อำเภอบ้านนา จังหวัดนครนายก การเททองหล่อองค์หลวงพ่อทวด ประกอบพิธีตามมงคลฤกษ์ได้ ดิถีอมฤคโชค " จันทร์ตรี " การเททองเหลือเนื้อโลหะก้นเบ้าจำนวนมาก ทาง วัดช้าง จึงได้นำโลหะที่เหลือมาหลอมรีดปั๊มเป็นองค์หลวงพ่อทวด และประกอบพิธีปลุกเสกใน ดิถีอมฤคโชค " เสาร์ห้า " เป็นฤกษ์ดีในรอบ ๑๐๐ ปี คือวันที่ ๒๐ มีนาคม รวม ๔ วัน ๓ คืน นับเป็นพิธีใหญ่ที่สุดในการสร้าง หลวง พ่อทวด ฤกษ์ เสาร์ ๕ พ.ศ. ๒๕๕๓ เนื้อองค์พระ เป็นเนื้อนวะโลหะสูตรโบราณของวัดช่าง จากท่านอาจารย์นิรันดร์(หนู) แดงวิจิตร แต่แรกท่านพระครูโสภณนาคกิจ หรือพระอาจารย์เดช ได้นำมวลสารแร่ธาตุก้านชนวนพระกริ่งรุ่นเก่า ๆ ของวัดช้าง ที่ได้มาจากวัด สุทัศน์ ผสมกับแผ่นโลหะพระยันต์ ๑๐๘ นะปะถะมัง ๑๔ นะ พระรัตนสูตร พระมงคลสูตร โลหะก้นเบ้าจากการสร้างพระกริ่งในอดีต มาหล่อหลอม เนื้อ เหลือ จากการเททอง ได้นำมาผสมกับทองคำแท่งเป็นโลหะ ๙ ชนิด ปั๊มเป็นองค์พระหลวงพ่อทวด รุ่น ๑ ของวัดช้าง ผิวองค์พระเมื่อแรกปั๊มแบ่งเป็น ๒ ชนิดคือ ๑. ชนิดผิวเดิมธรรมชาติ และ ๒. ชนิดผิวปัดลูกผ้า โดยเนื้อในขององค์พระจะเป็นสีส้มอมชมพูเข้ม ซึ่งสร้างกระแสความสนใจให้พุทธศาสนิกชนทั่วประเทศเป็นอย่างยิ่ง เพราะเป็นรุ่น ๑ ของวัดช้าง ที่มีพระคณาจารย์พ่อท่านทางภาคใต้ พระพิธีจากวัดช้างให้ และพระคณาจารย์จังหวัดนครนายก กว่า ๓๖๐ รูป มาทำการปลุกเสกให้อย่างยิ่งใหญ่ พิมพ์ทรงองค์พระ หลวงพ่อทวด รุ่น ๑ ด้านหน้าองค์พระประทับบัลลังก์บัวแก้ว ลักษณะของบัวแบ่งเป็นด้านบน ๗ กลีบหงาย ด้านล่าง ๗ กลีบคว่ำ สันกลีบบัวปรากฏเ-กลาง สำหรับพิมพ์เดิม ๆ ผิวธรรมชาติจะยังคงเ-ชัดเจน ส่วนพิมพ์ผิวขัดปัดลูกผ้าอาจจะสึกเพราะการขัดเงาของช่าง จึงทำให้เ-กลางกลีบบัวหาย องค์พระพิมพ์หัวโตคล้ายพิมพ์หลังตัวหนังสือในอดีต ต่างตรงด้านหน้าเป็นทรงเตารีด และพิเศษมีเลข ๑ หลวงพ่อทวดรุ่น ๑ วัดช้าง นับเป็นปฏิมากรรมการสร้างรูปเหมือนหลวงพ่อทวดมิติใหม่ที่ไม่ทิ้งความนิยม จากอดีต ซึ่งยังคงรูปลักษณ์ความศัทราแห่งบารมีเทพเจ้าเหยียบน้ำทะเลจืดไว้ดังเดิม โดยพิมพ์เป็นเอกลักษณ์พิมพ์เดียว แต่ถอดพิมพ์ได้ ๘ บล็อก ดังปรากฏตัวเลขที่จะระบุไว้กับกล่องที่จะบรรจุพระพิธีพระเถระ "พ่อท่าน" เมืองใต้ ในการปลุกเสกหลวงพ่อทวด มีขึ้นในวันที่ ๒๒ มีนาคม ๒๕๕๓ ตรงกับวันจันที์ขึ้น ๗ ค่ำ เดือน ๕ ปีขาล ได้ฏีกาอาราธนาพระเถระ พ่อท่านจาก ๑๔ จังหวัดภาคใต้ขึ้นมาประกอบพิธีกรรมอย่างยิ่งใหญ่ ซึ่งมีพ่อท่านประสูติ วัดในเตา จ. ตรัง คัดเลือกรายนามพระเกจิอาจารย์ เพื่อ รวมพลังปลุกเสกหลวงพ่อทวด ณ วัดช้าง อ. บ้านนา จ. นครนายก ที่สำคัญพ่อท่านเมืองใต้ มีพระเถระผู้ทรงวิทยาคุณมารวมพลังปลุกเสกมากเป็นครั้งประวัติการณ์ กว่า ๑๐๘ รูป โดยพิธีมังคลาพิเษกหลวงพ่อทวดมีขึ้นตั้งแต่วันที่ ๒๐ เป็นพิธีใหญ่จุดเทียนชัย " เสาร์ ๕ " ถึงวันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๕๓ รวม ๔ วัน ๓ คืน พิธีเถระ "ท่านเจ้าวัด" แห่งเมืองปัตตานี พิธีนี้เป็นการอันเชิญดวงวิญญาณองค์หลวงพ่อทวด ในการจัดสมโภชรูปเหมือน องค์จำลอง ทำพิธีเบิกเนตรหลวงพ่อทวด วันอาทิตย์ที่ ๒๑ มีนาคม ๒๕๕๓ ใน พิธีนี้ ท่านเจ้าคุณองค์รอง "วัดช้างให้" ปัตตานี ได้นำพลเจ้าอาวาส ฯ หรือที่เรียกว่าท่านเจ้าวัด กว่า๑๐๘ รูป มาเจริญพระพุทธมนต์ครบสูตร ต่อจากนั้นได้บริกรรมอธิษฐานจิตปลุกเสกพระเครื่อง รุ่น ๑ แห่งวัดช้าง เพื่อให้เป็นตำนานความศักดิ์สิทธิ์...
อ่านสักนิดก่อนเคาะครับ จะได้ไม่ต้องเสียเวลาด้วยกันทั้งสองฝ่าย พระราคาไม่ถึง 5000 บาท รบกวนส่งออกบัตรเองครับ ผมรับประกันแท้ แต่ถ้าพระราคาเกิน 5000 บาท ยินดีทำตามกฎ ขอบคุณครับ โอนแล้วกรุณาแจ้งทาง mail box ด้วยนะครับเพื่อความถูกต้องและรวดเร็วในการจัดส่ง ขอบคุณครับ ยังมีรายการพระที่น่าสนใจอีกหลายรายการ เข้าไปดูได้โดยคลิกที่ตัว
พระเครื่อง หลวงพ่อทวด " รุ่น ๑ " หลังเตารีด เนื้อนวโลหะ จัดสร้างเป็นครั้งแรกของวัดช้าง โดยพระเถระวัดช้างให้ จ. ปัตตานี ปลุกเสกพระเครื่องดังแห่งปี มหาพิธีปลุกเสกชุมนุม ๑๐๘ พ่อท่านภาคใต้ , ๑๐๘ ท่านเจ้าวัดเมืองปัตตานี , ๑๐๘ พระเถระนครนายก พระ ครูโสภณ นาคกิจ ได้จัดสร้างรูปเหมือนจำลององค์หลวงพ่อทวด ขนาดเท่าองค์จริงเพื่อประดิษฐานในวิหารบูรพาจารย์ ณ วัดช้าง อำเภอบ้านนา จังหวัดนครนายก การเททองหล่อองค์หลวงพ่อทวด ประกอบพิธีตามมงคลฤกษ์ได้ ดิถีอมฤคโชค " จันทร์ตรี " การเททองเหลือเนื้อโลหะก้นเบ้าจำนวนมาก ทาง วัดช้าง จึงได้นำโลหะที่เหลือมาหลอมรีดปั๊มเป็นองค์หลวงพ่อทวด และประกอบพิธีปลุกเสกใน ดิถีอมฤคโชค " เสาร์ห้า " เป็นฤกษ์ดีในรอบ ๑๐๐ ปี คือวันที่ ๒๐ มีนาคม รวม ๔ วัน ๓ คืน นับเป็นพิธีใหญ่ที่สุดในการสร้าง หลวง พ่อทวด ฤกษ์ เสาร์ ๕ พ.ศ. ๒๕๕๓ เนื้อองค์พระ เป็นเนื้อนวะโลหะสูตรโบราณของวัดช่าง จากท่านอาจารย์นิรันดร์(หนู) แดงวิจิตร แต่แรกท่านพระครูโสภณนาคกิจ หรือพระอาจารย์เดช ได้นำมวลสารแร่ธาตุก้านชนวนพระกริ่งรุ่นเก่า ๆ ของวัดช้าง ที่ได้มาจากวัด สุทัศน์ ผสมกับแผ่นโลหะพระยันต์ ๑๐๘ นะปะถะมัง ๑๔ นะ พระรัตนสูตร พระมงคลสูตร โลหะก้นเบ้าจากการสร้างพระกริ่งในอดีต มาหล่อหลอม เนื้อ เหลือ จากการเททอง ได้นำมาผสมกับทองคำแท่งเป็นโลหะ ๙ ชนิด ปั๊มเป็นองค์พระหลวงพ่อทวด รุ่น ๑ ของวัดช้าง ผิวองค์พระเมื่อแรกปั๊มแบ่งเป็น ๒ ชนิดคือ ๑. ชนิดผิวเดิมธรรมชาติ และ ๒. ชนิดผิวปัดลูกผ้า โดยเนื้อในขององค์พระจะเป็นสีส้มอมชมพูเข้ม ซึ่งสร้างกระแสความสนใจให้พุทธศาสนิกชนทั่วประเทศเป็นอย่างยิ่ง เพราะเป็นรุ่น ๑ ของวัดช้าง ที่มีพระคณาจารย์พ่อท่านทางภาคใต้ พระพิธีจากวัดช้างให้ และพระคณาจารย์จังหวัดนครนายก กว่า ๓๖๐ รูป มาทำการปลุกเสกให้อย่างยิ่งใหญ่ พิมพ์ทรงองค์พระ หลวงพ่อทวด รุ่น ๑ ด้านหน้าองค์พระประทับบัลลังก์บัวแก้ว ลักษณะของบัวแบ่งเป็นด้านบน ๗ กลีบหงาย ด้านล่าง ๗ กลีบคว่ำ สันกลีบบัวปรากฏเ-กลาง สำหรับพิมพ์เดิม ๆ ผิวธรรมชาติจะยังคงเ-ชัดเจน ส่วนพิมพ์ผิวขัดปัดลูกผ้าอาจจะสึกเพราะการขัดเงาของช่าง จึงทำให้เ-กลางกลีบบัวหาย องค์พระพิมพ์หัวโตคล้ายพิมพ์หลังตัวหนังสือในอดีต ต่างตรงด้านหน้าเป็นทรงเตารีด และพิเศษมีเลข ๑ หลวงพ่อทวดรุ่น ๑ วัดช้าง นับเป็นปฏิมากรรมการสร้างรูปเหมือนหลวงพ่อทวดมิติใหม่ที่ไม่ทิ้งความนิยม จากอดีต ซึ่งยังคงรูปลักษณ์ความศัทราแห่งบารมีเทพเจ้าเหยียบน้ำทะเลจืดไว้ดังเดิม โดยพิมพ์เป็นเอกลักษณ์พิมพ์เดียว แต่ถอดพิมพ์ได้ ๘ บล็อก ดังปรากฏตัวเลขที่จะระบุไว้กับกล่องที่จะบรรจุพระพิธีพระเถระ "พ่อท่าน" เมืองใต้ ในการปลุกเสกหลวงพ่อทวด มีขึ้นในวันที่ ๒๒ มีนาคม ๒๕๕๓ ตรงกับวันจันที์ขึ้น ๗ ค่ำ เดือน ๕ ปีขาล ได้ฏีกาอาราธนาพระเถระ พ่อท่านจาก ๑๔ จังหวัดภาคใต้ขึ้นมาประกอบพิธีกรรมอย่างยิ่งใหญ่ ซึ่งมีพ่อท่านประสูติ วัดในเตา จ. ตรัง คัดเลือกรายนามพระเกจิอาจารย์ เพื่อ รวมพลังปลุกเสกหลวงพ่อทวด ณ วัดช้าง อ. บ้านนา จ. นครนายก ที่สำคัญพ่อท่านเมืองใต้ มีพระเถระผู้ทรงวิทยาคุณมารวมพลังปลุกเสกมากเป็นครั้งประวัติการณ์ กว่า ๑๐๘ รูป โดยพิธีมังคลาพิเษกหลวงพ่อทวดมีขึ้นตั้งแต่วันที่ ๒๐ เป็นพิธีใหญ่จุดเทียนชัย " เสาร์ ๕ " ถึงวันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๕๓ รวม ๔ วัน ๓ คืน พิธีเถระ "ท่านเจ้าวัด" แห่งเมืองปัตตานี พิธีนี้เป็นการอันเชิญดวงวิญญาณองค์หลวงพ่อทวด ในการจัดสมโภชรูปเหมือน องค์จำลอง ทำพิธีเบิกเนตรหลวงพ่อทวด วันอาทิตย์ที่ ๒๑ มีนาคม ๒๕๕๓ ใน พิธีนี้ ท่านเจ้าคุณองค์รอง "วัดช้างให้" ปัตตานี ได้นำพลเจ้าอาวาส ฯ หรือที่เรียกว่าท่านเจ้าวัด กว่า๑๐๘ รูป มาเจริญพระพุทธมนต์ครบสูตร ต่อจากนั้นได้บริกรรมอธิษฐานจิตปลุกเสกพระเครื่อง รุ่น ๑ แห่งวัดช้าง เพื่อให้เป็นตำนานความศักดิ์สิทธิ์...
พระสมเด็จอรหังหลังช้าง วัดบวร พระสังฆราชองค์ปัจจุบันปลุกเสกตั้งแต่ดำรงสมณศักดิ์สมเด็จพระญาณสังวรพุทธาภิเษก ณ วัดราชสิทธาราม 18 กันยายน 2523 สร้างมงคลวโรกาสฉลองอายุ 67 พรรษา สมเด็จพระญาณสังวร(ขณะนั้นยังไม่ได้เป็นสมเด็จพระสังฆราช)สร้างจากมวลสาร เก่าอาทิ ผงพระสมเด็จวัดระฆัง, บางขุนพรหม, พระศาสดา ปี 16, พระไพรีพินาศ ปี 16, พระนิรันตราย ปี 16และมวลสารพระสมเด็จวัดพลับ ของสมเด็จพระญาณสังวรสมเด็จพระสังฆราช (สุก ไก่เถื่อน) และพระรูปเหมือนสมเด็จพระสังฆราชเจ้ากรมหลวงวชิรญาณวงศ์ ปี 15 เป็นต้น และบรรจุเส้นพระเกสาสมเด็จพระญาณสังวรไว้ด้านหลังซึ่งมีเป็นรูปตรา ช้างกำกับทุกองค์ พุทธาภิเษก ณ พระอุโบสถวัดราชสิทธาราม ถือว่าเป็นการสร้างสมเด็จอรหังรุ่นแรกๆในยุคของสมเด็จพระญาณสังวรฯ โดยในพิธีนี้จะมีพระสายหลวงปู่มั่นในยุคนั้นมาเสกร่วมกันทั้งหมด เช่น หลวงปู่ดูลย์ และนอกจากนี้หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี มาร่วมเสกด้วยเป็นพระพิธีดีที่ราคายังไม่แพง
พระเครื่อง หลวงพ่อทวด " รุ่น ๑ " หลังเตารีด เนื้อนวโลหะ จัดสร้างเป็นครั้งแรกของวัดช้าง โดยพระเถระวัดช้างให้ จ. ปัตตานี ปลุกเสกพระเครื่องดังแห่งปี มหาพิธีปลุกเสกชุมนุม ๑๐๘ พ่อท่านภาคใต้ , ๑๐๘ ท่านเจ้าวัดเมืองปัตตานี , ๑๐๘ พระเถระนครนายก พระ ครูโสภณ นาคกิจ ได้จัดสร้างรูปเหมือนจำลององค์หลวงพ่อทวด ขนาดเท่าองค์จริงเพื่อประดิษฐานในวิหารบูรพาจารย์ ณ วัดช้าง อำเภอบ้านนา จังหวัดนครนายก การเททองหล่อองค์หลวงพ่อทวด ประกอบพิธีตามมงคลฤกษ์ได้ ดิถีอมฤคโชค " จันทร์ตรี " การเททองเหลือเนื้อโลหะก้นเบ้าจำนวนมาก ทาง วัดช้าง จึงได้นำโลหะที่เหลือมาหลอมรีดปั๊มเป็นองค์หลวงพ่อทวด และประกอบพิธีปลุกเสกใน ดิถีอมฤคโชค " เสาร์ห้า " เป็นฤกษ์ดีในรอบ ๑๐๐ ปี คือวันที่ ๒๐ มีนาคม รวม ๔ วัน ๓ คืน นับเป็นพิธีใหญ่ที่สุดในการสร้าง หลวง พ่อทวด ฤกษ์ เสาร์ ๕ พ.ศ. ๒๕๕๓ เนื้อองค์พระ เป็นเนื้อนวะโลหะสูตรโบราณของวัดช่าง จากท่านอาจารย์นิรันดร์(หนู) แดงวิจิตร แต่แรกท่านพระครูโสภณนาคกิจ หรือพระอาจารย์เดช ได้นำมวลสารแร่ธาตุก้านชนวนพระกริ่งรุ่นเก่า ๆ ของวัดช้าง ที่ได้มาจากวัด สุทัศน์ ผสมกับแผ่นโลหะพระยันต์ ๑๐๘ นะปะถะมัง ๑๔ นะ พระรัตนสูตร พระมงคลสูตร โลหะก้นเบ้าจากการสร้างพระกริ่งในอดีต มาหล่อหลอม เนื้อ เหลือ จากการเททอง ได้นำมาผสมกับทองคำแท่งเป็นโลหะ ๙ ชนิด ปั๊มเป็นองค์พระหลวงพ่อทวด รุ่น ๑ ของวัดช้าง ผิวองค์พระเมื่อแรกปั๊มแบ่งเป็น ๒ ชนิดคือ ๑. ชนิดผิวเดิมธรรมชาติ และ ๒. ชนิดผิวปัดลูกผ้า โดยเนื้อในขององค์พระจะเป็นสีส้มอมชมพูเข้ม ซึ่งสร้างกระแสความสนใจให้พุทธศาสนิกชนทั่วประเทศเป็นอย่างยิ่ง เพราะเป็นรุ่น ๑ ของวัดช้าง ที่มีพระคณาจารย์พ่อท่านทางภาคใต้ พระพิธีจากวัดช้างให้ และพระคณาจารย์จังหวัดนครนายก กว่า ๓๖๐ รูป มาทำการปลุกเสกให้อย่างยิ่งใหญ่ พิมพ์ทรงองค์พระ หลวงพ่อทวด รุ่น ๑ ด้านหน้าองค์พระประทับบัลลังก์บัวแก้ว ลักษณะของบัวแบ่งเป็นด้านบน ๗ กลีบหงาย ด้านล่าง ๗ กลีบคว่ำ สันกลีบบัวปรากฏเ-กลาง สำหรับพิมพ์เดิม ๆ ผิวธรรมชาติจะยังคงเ-ชัดเจน ส่วนพิมพ์ผิวขัดปัดลูกผ้าอาจจะสึกเพราะการขัดเงาของช่าง จึงทำให้เ-กลางกลีบบัวหาย องค์พระพิมพ์หัวโตคล้ายพิมพ์หลังตัวหนังสือในอดีต ต่างตรงด้านหน้าเป็นทรงเตารีด และพิเศษมีเลข ๑ หลวงพ่อทวดรุ่น ๑ วัดช้าง นับเป็นปฏิมากรรมการสร้างรูปเหมือนหลวงพ่อทวดมิติใหม่ที่ไม่ทิ้งความนิยม จากอดีต ซึ่งยังคงรูปลักษณ์ความศัทราแห่งบารมีเทพเจ้าเหยียบน้ำทะเลจืดไว้ดังเดิม โดยพิมพ์เป็นเอกลักษณ์พิมพ์เดียว แต่ถอดพิมพ์ได้ ๘ บล็อก ดังปรากฏตัวเลขที่จะระบุไว้กับกล่องที่จะบรรจุพระพิธีพระเถระ "พ่อท่าน" เมืองใต้ ในการปลุกเสกหลวงพ่อทวด มีขึ้นในวันที่ ๒๒ มีนาคม ๒๕๕๓ ตรงกับวันจันที์ขึ้น ๗ ค่ำ เดือน ๕ ปีขาล ได้ฏีกาอาราธนาพระเถระ พ่อท่านจาก ๑๔ จังหวัดภาคใต้ขึ้นมาประกอบพิธีกรรมอย่างยิ่งใหญ่ ซึ่งมีพ่อท่านประสูติ วัดในเตา จ. ตรัง คัดเลือกรายนามพระเกจิอาจารย์ เพื่อ รวมพลังปลุกเสกหลวงพ่อทวด ณ วัดช้าง อ. บ้านนา จ. นครนายก ที่สำคัญพ่อท่านเมืองใต้ มีพระเถระผู้ทรงวิทยาคุณมารวมพลังปลุกเสกมากเป็นครั้งประวัติการณ์ กว่า ๑๐๘ รูป โดยพิธีมังคลาพิเษกหลวงพ่อทวดมีขึ้นตั้งแต่วันที่ ๒๐ เป็นพิธีใหญ่จุดเทียนชัย " เสาร์ ๕ " ถึงวันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๕๓ รวม ๔ วัน ๓ คืน พิธีเถระ "ท่านเจ้าวัด" แห่งเมืองปัตตานี พิธีนี้เป็นการอันเชิญดวงวิญญาณองค์หลวงพ่อทวด ในการจัดสมโภชรูปเหมือน องค์จำลอง ทำพิธีเบิกเนตรหลวงพ่อทวด วันอาทิตย์ที่ ๒๑ มีนาคม ๒๕๕๓ ใน พิธีนี้ ท่านเจ้าคุณองค์รอง "วัดช้างให้" ปัตตานี ได้นำพลเจ้าอาวาส ฯ หรือที่เรียกว่าท่านเจ้าวัด กว่า๑๐๘ รูป มาเจริญพระพุทธมนต์ครบสูตร ต่อจากนั้นได้บริกรรมอธิษฐานจิตปลุกเสกพระเครื่อง รุ่น ๑ แห่งวัดช้าง เพื่อให้เป็นตำนานความศักดิ์สิทธิ์...
พระเครื่อง หลวงพ่อทวด " รุ่น ๑ " หลังเตารีด เนื้อนวโลหะ จัดสร้างเป็นครั้งแรกของวัดช้าง โดยพระเถระวัดช้างให้ จ. ปัตตานี ปลุกเสกพระเครื่องดังแห่งปี มหาพิธีปลุกเสกชุมนุม ๑๐๘ พ่อท่านภาคใต้ , ๑๐๘ ท่านเจ้าวัดเมืองปัตตานี , ๑๐๘ พระเถระนครนายก พระ ครูโสภณ นาคกิจ ได้จัดสร้างรูปเหมือนจำลององค์หลวงพ่อทวด ขนาดเท่าองค์จริงเพื่อประดิษฐานในวิหารบูรพาจารย์ ณ วัดช้าง อำเภอบ้านนา จังหวัดนครนายก การเททองหล่อองค์หลวงพ่อทวด ประกอบพิธีตามมงคลฤกษ์ได้ ดิถีอมฤคโชค " จันทร์ตรี " การเททองเหลือเนื้อโลหะก้นเบ้าจำนวนมาก ทาง วัดช้าง จึงได้นำโลหะที่เหลือมาหลอมรีดปั๊มเป็นองค์หลวงพ่อทวด และประกอบพิธีปลุกเสกใน ดิถีอมฤคโชค " เสาร์ห้า " เป็นฤกษ์ดีในรอบ ๑๐๐ ปี คือวันที่ ๒๐ มีนาคม รวม ๔ วัน ๓ คืน นับเป็นพิธีใหญ่ที่สุดในการสร้าง หลวง พ่อทวด ฤกษ์ เสาร์ ๕ พ.ศ. ๒๕๕๓ เนื้อองค์พระ เป็นเนื้อนวะโลหะสูตรโบราณของวัดช่าง จากท่านอาจารย์นิรันดร์(หนู) แดงวิจิตร แต่แรกท่านพระครูโสภณนาคกิจ หรือพระอาจารย์เดช ได้นำมวลสารแร่ธาตุก้านชนวนพระกริ่งรุ่นเก่า ๆ ของวัดช้าง ที่ได้มาจากวัด สุทัศน์ ผสมกับแผ่นโลหะพระยันต์ ๑๐๘ นะปะถะมัง ๑๔ นะ พระรัตนสูตร พระมงคลสูตร โลหะก้นเบ้าจากการสร้างพระกริ่งในอดีต มาหล่อหลอม เนื้อ เหลือ จากการเททอง ได้นำมาผสมกับทองคำแท่งเป็นโลหะ ๙ ชนิด ปั๊มเป็นองค์พระหลวงพ่อทวด รุ่น ๑ ของวัดช้าง ผิวองค์พระเมื่อแรกปั๊มแบ่งเป็น ๒ ชนิดคือ ๑. ชนิดผิวเดิมธรรมชาติ และ ๒. ชนิดผิวปัดลูกผ้า โดยเนื้อในขององค์พระจะเป็นสีส้มอมชมพูเข้ม ซึ่งสร้างกระแสความสนใจให้พุทธศาสนิกชนทั่วประเทศเป็นอย่างยิ่ง เพราะเป็นรุ่น ๑ ของวัดช้าง ที่มีพระคณาจารย์พ่อท่านทางภาคใต้ พระพิธีจากวัดช้างให้ และพระคณาจารย์จังหวัดนครนายก กว่า ๓๖๐ รูป มาทำการปลุกเสกให้อย่างยิ่งใหญ่ พิมพ์ทรงองค์พระ หลวงพ่อทวด รุ่น ๑ ด้านหน้าองค์พระประทับบัลลังก์บัวแก้ว ลักษณะของบัวแบ่งเป็นด้านบน ๗ กลีบหงาย ด้านล่าง ๗ กลีบคว่ำ สันกลีบบัวปรากฏเ-กลาง สำหรับพิมพ์เดิม ๆ ผิวธรรมชาติจะยังคงเ-ชัดเจน ส่วนพิมพ์ผิวขัดปัดลูกผ้าอาจจะสึกเพราะการขัดเงาของช่าง จึงทำให้เ-กลางกลีบบัวหาย องค์พระพิมพ์หัวโตคล้ายพิมพ์หลังตัวหนังสือในอดีต ต่างตรงด้านหน้าเป็นทรงเตารีด และพิเศษมีเลข ๑ หลวงพ่อทวดรุ่น ๑ วัดช้าง นับเป็นปฏิมากรรมการสร้างรูปเหมือนหลวงพ่อทวดมิติใหม่ที่ไม่ทิ้งความนิยม จากอดีต ซึ่งยังคงรูปลักษณ์ความศัทราแห่งบารมีเทพเจ้าเหยียบน้ำทะเลจืดไว้ดังเดิม โดยพิมพ์เป็นเอกลักษณ์พิมพ์เดียว แต่ถอดพิมพ์ได้ ๘ บล็อก ดังปรากฏตัวเลขที่จะระบุไว้กับกล่องที่จะบรรจุพระพิธีพระเถระ "พ่อท่าน" เมืองใต้ ในการปลุกเสกหลวงพ่อทวด มีขึ้นในวันที่ ๒๒ มีนาคม ๒๕๕๓ ตรงกับวันจันที์ขึ้น ๗ ค่ำ เดือน ๕ ปีขาล ได้ฏีกาอาราธนาพระเถระ พ่อท่านจาก ๑๔ จังหวัดภาคใต้ขึ้นมาประกอบพิธีกรรมอย่างยิ่งใหญ่ ซึ่งมีพ่อท่านประสูติ วัดในเตา จ. ตรัง คัดเลือกรายนามพระเกจิอาจารย์ เพื่อ รวมพลังปลุกเสกหลวงพ่อทวด ณ วัดช้าง อ. บ้านนา จ. นครนายก ที่สำคัญพ่อท่านเมืองใต้ มีพระเถระผู้ทรงวิทยาคุณมารวมพลังปลุกเสกมากเป็นครั้งประวัติการณ์ กว่า ๑๐๘ รูป โดยพิธีมังคลาพิเษกหลวงพ่อทวดมีขึ้นตั้งแต่วันที่ ๒๐ เป็นพิธีใหญ่จุดเทียนชัย " เสาร์ ๕ " ถึงวันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๕๓ รวม ๔ วัน ๓ คืน พิธีเถระ "ท่านเจ้าวัด" แห่งเมืองปัตตานี พิธีนี้เป็นการอันเชิญดวงวิญญาณองค์หลวงพ่อทวด ในการจัดสมโภชรูปเหมือน องค์จำลอง ทำพิธีเบิกเนตรหลวงพ่อทวด วันอาทิตย์ที่ ๒๑ มีนาคม ๒๕๕๓ ใน พิธีนี้ ท่านเจ้าคุณองค์รอง "วัดช้างให้" ปัตตานี ได้นำพลเจ้าอาวาส ฯ หรือที่เรียกว่าท่านเจ้าวัด กว่า๑๐๘ รูป มาเจริญพระพุทธมนต์ครบสูตร ต่อจากนั้นได้บริกรรมอธิษฐานจิตปลุกเสกพระเครื่อง รุ่น ๑ แห่งวัดช้าง เพื่อให้เป็นตำนานความศักดิ์สิทธิ์...
พระ เครื่อง หลวงพ่อทวด " รุ่น ๑ " หลังเตารีด เนื้อนวโลหะ จัดสร้างเป็นครั้งแรกของวัดช้าง โดยพระเถระวัดช้างให้ จ. ปัตตานี ปลุกเสกพระเครื่องดังแห่งปี มหาพิธีปลุกเสกชุมนุม ๑๐๘ พ่อท่านภาคใต้ , ๑๐๘ ท่านเจ้าวัดเมืองปัตตานี , ๑๐๘ พระเถระนครนายก พระ ครูโสภณ นาคกิจ ได้จัดสร้างรูปเหมือนจำลององค์หลวงพ่อทวด ขนาดเท่าองค์จริงเพื่อประดิษฐานในวิหารบูรพาจารย์ ณ วัดช้าง อำเภอบ้านนา จังหวัดนครนายก การเททองหล่อองค์หลวงพ่อทวด ประกอบพิธีตามมงคลฤกษ์ได้ ดิถีอมฤคโชค " จันทร์ตรี " การเททองเหลือเนื้อโลหะก้นเบ้าจำนวนมาก ทาง วัดช้าง จึงได้นำโลหะที่เหลือมาหลอมรีดปั๊มเป็นองค์หลวงพ่อทวด และประกอบพิธีปลุกเสกใน ดิถีอมฤคโชค " เสาร์ห้า " เป็นฤกษ์ดีในรอบ ๑๐๐ ปี คือวันที่ ๒๐ มีนาคม รวม ๔ วัน ๓ คืน นับเป็นพิธีใหญ่ที่สุดในการสร้าง หลวง พ่อทวด ฤกษ์ เสาร์ ๕ พ.ศ. ๒๕๕๓ เนื้อองค์พระ เป็นเนื้อนวะโลหะสูตรโบราณของวัดช่าง จากท่านอาจารย์นิรันดร์(หนู) แดงวิจิตร แต่แรกท่านพระครูโสภณนาคกิจ หรือพระอาจารย์เดช ได้นำมวลสารแร่ธาตุก้านชนวนพระกริ่งรุ่นเก่า ๆ ของวัดช้าง ที่ได้มาจากวัด สุทัศน์ ผสมกับแผ่นโลหะพระยันต์ ๑๐๘ นะปะถะมัง ๑๔ นะ พระรัตนสูตร พระมงคลสูตร โลหะก้นเบ้าจากการสร้างพระกริ่งในอดีต มาหล่อหลอม เนื้อ เหลือ จากการเททอง ได้นำมาผสมกับทองคำแท่งเป็นโลหะ ๙ ชนิด ปั๊มเป็นองค์พระหลวงพ่อทวด รุ่น ๑ ของวัดช้าง ผิวองค์พระเมื่อแรกปั๊มแบ่งเป็น ๒ ชนิดคือ ๑. ชนิดผิวเดิมธรรมชาติ และ ๒. ชนิดผิวปัดลูกผ้า โดยเนื้อในขององค์พระจะเป็นสีส้มอมชมพูเข้ม ซึ่งสร้างกระแสความสนใจให้พุทธศาสนิกชนทั่วประเทศเป็นอย่างยิ่ง เพราะเป็นรุ่น ๑ ของวัดช้าง ที่มีพระคณาจารย์พ่อท่านทางภาคใต้ พระพิธีจากวัดช้างให้ และพระคณาจารย์จังหวัดนครนายก กว่า ๓๖๐ รูป มาทำการปลุกเสกให้อย่างยิ่งใหญ่ พิมพ์ทรงองค์พระ หลวงพ่อทวด รุ่น ๑ ด้านหน้าองค์พระประทับบัลลังก์บัวแก้ว ลักษณะของบัวแบ่งเป็นด้านบน ๗ กลีบหงาย ด้านล่าง ๗ กลีบคว่ำ สันกลีบบัวปรากฏเ-กลาง สำหรับพิมพ์เดิม ๆ ผิวธรรมชาติจะยังคงเ-ชัดเจน ส่วนพิมพ์ผิวขัดปัดลูกผ้าอาจจะสึกเพราะการขัดเงาของช่าง จึงทำให้เ-กลางกลีบบัวหาย องค์พระพิมพ์หัวโตคล้ายพิมพ์หลังตัวหนังสือในอดีต ต่างตรงด้านหน้าเป็นทรงเตารีด และพิเศษมีเลข ๑ หลวงพ่อทวดรุ่น ๑ วัดช้าง นับเป็นปฏิมากรรมการสร้างรูปเหมือนหลวงพ่อทวดมิติใหม่ที่ไม่ทิ้งความนิยม จากอดีต ซึ่งยังคงรูปลักษณ์ความศัทราแห่งบารมีเทพเจ้าเหยียบน้ำทะเลจืดไว้ดังเดิม โดยพิมพ์เป็นเอกลักษณ์พิมพ์เดียว แต่ถอดพิมพ์ได้ ๘ บล็อก ดังปรากฏตัวเลขที่จะระบุไว้กับกล่องที่จะบรรจุพระพิธีพระเถระ "พ่อท่าน" เมืองใต้ ในการปลุกเสกหลวงพ่อทวด มีขึ้นในวันที่ ๒๒ มีนาคม ๒๕๕๓ ตรงกับวันจันที์ขึ้น ๗ ค่ำ เดือน ๕ ปีขาล ได้ฏีกาอาราธนาพระเถระ พ่อท่านจาก ๑๔ จังหวัดภาคใต้ขึ้นมาประกอบพิธีกรรมอย่างยิ่งใหญ่ ซึ่งมีพ่อท่านประสูติ วัดในเตา จ. ตรัง คัดเลือกรายนามพระเกจิอาจารย์ เพื่อ รวมพลังปลุกเสกหลวงพ่อทวด ณ วัดช้าง อ. บ้านนา จ. นครนายก ที่สำคัญพ่อท่านเมืองใต้ มีพระเถระผู้ทรงวิทยาคุณมารวมพลังปลุกเสกมากเป็นครั้งประวัติการณ์ กว่า ๑๐๘ รูป โดยพิธีมังคลาพิเษกหลวงพ่อทวดมีขึ้นตั้งแต่วันที่ ๒๐ เป็นพิธีใหญ่จุดเทียนชัย " เสาร์ ๕ " ถึงวันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๕๓ รวม ๔ วัน ๓ คืน พิธีเถระ "ท่านเจ้าวัด" แห่งเมืองปัตตานี พิธีนี้เป็นการอันเชิญดวงวิญญาณองค์หลวงพ่อทวด ในการจัดสมโภชรูปเหมือน องค์จำลอง ทำพิธีเบิกเนตรหลวงพ่อทวด วันอาทิตย์ที่ ๒๑ มีนาคม ๒๕๕๓ ใน พิธีนี้ ท่านเจ้าคุณองค์รอง "วัดช้างให้" ปัตตานี ได้นำพลเจ้าอาวาส ฯ หรือที่เรียกว่าท่านเจ้าวัด กว่า๑๐๘ รูป มาเจริญพระพุทธมนต์ครบสูตร ต่อจากนั้นได้บริกรรมอธิษฐานจิตปลุกเสกพระเครื่อง รุ่น ๑ แห่งวัดช้าง เพื่อให้เป็นตำนานความศักดิ์สิทธิ์...
ขอบคุณครับ (auto feedback)
สวยเดิม เห็นเม็ดแร่ ชัดเจน มวลสารจัดๆ เดิมๆตัวจริงเสียงจริง บุกจากรังในพื้นที่นำมาแบ่งให้ไปบูชาครับ ผมรับประกันแท้ครับผม ลองดูตัวอย่างจากกระทู้นี้ได้เลยครับ.... http://www2.g-pra.com/auction/view.php?aid=14332239
ขอบคุณครับ (auto feedback)